ใบงานการเงินการคลังฉบับออนไลน์(1)


ใบงานการเงินการคลัง

แบบทดสอบเก็บคะแนน

เรื่อง หน้าที่ของเงินและปริมาณเงิน

คำชี้แจง: แบบทดสอบมี 5 ข้อ ให้ทำทุกข้อ โดยตอบคำถามให้ถูกต้องและสมบูรณ์

1. ความหมายของเงิน คือ ...

2. หน้าที่ของเงิน คือ ...

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง...

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง...

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

เพิ่มเติม..ส่งคำตอบได้ที่ ...(เลือกตอบวิธีใดวิธีหนึ่ง)

1.  [email protected]      หรือ

2. แสดงคำตอบท้ายบล๊อคนี้

คำสำคัญ (Tags): #การเรียนการสอน
หมายเลขบันทึก: 440858เขียนเมื่อ 26 พฤษภาคม 2011 09:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 11:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (69)
เมธยา แพรสุวรรณ ม.5/4

1.ตอบ เงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

ความสำคัญของเงิน

ไม่ว่ามนุษย์จะอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศํยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. ตอบ หน้าที่ของเงิน

เงินเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการชื้อขายแลกเปลี่ยนสิ้นค้า และบริการในระบบเศรษฐกิจ โดยที่เงินมีราคาที่แน่นอนเป็นหน่วยเงินตรา และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ในการซื้อขายและชำระหนี้ คุณลักษณะดังกล่าวจึงทำให้เงินสามารถทำหน้าที่ ซึ่งมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ 3 ประเภทด้วยกับ คือ

ประเภทที่ 1 หน้าที่ขั้นต้น ได้แก่

1. เงินเป็นเครื่องวัดมูลค่า

หน้าที่ของเงิน ในแง่นี้ให้ความสะดวกในด้วนการใช้หน่วยของเงินสำหรับวัดมูลค่าของสิ่งของ และบริการ หน่วยของเงินนั้นแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น บางประเทศในหน่วยเป็นบาท กีบ ดอลลาร์ เปโซ ฟรังซ์ ปอนด์สเตอร์ลิง เป็นต้น มูลค่าของสินค้าและบริการแต่ละชนิดจะอยู่ในรูปของ ราคา ของสินค้าบริการนั้นๆ เช่น หมวกราคาใบละ 100 บาท เนื้อหมูกิโลกรัม ละ 38 บาท เป็นต้น

2. เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

เงินจะเป็นอะไรก็ได้ซึ่งเป๋นที่ยอมรับของคนทั้งไป ในสังคมว่าเป็นสื่อกลางในการกเปลี่ยน ดังนั้นเมื่อมีสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแล้ว หากมีความต้องการสินค้าบริการใด ก็ไม้ต้องแสวงหาคนที่ต้องการแลกเปลี่ยนที่ตรกกันกับเราเหมือนวิธีแลกเปลี่ยนสิ่งของ

ประเภทที่ 2 หน้าที่รอง ได้แก่

1. เงินเป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

ในระบบเศรษกิจปัจจุบันมีการขยายตัวในด้วนการค้า การติดต่อซื้อขายซึ่งกันและกันทั้งในและนอกประเทศ โดยทัวไปการค้าขายจะมีการผลัดเวลาการชำระเงินทุนดอกเบี้ย และหนี้สินต่างๆ จากปัจจุบันเป็นอนาคต ทั้งนี้ จะต้องอยู้ภายใต้ข้อจำกัดที่ว่า มูลค่าของเงินจะต้องไม้เปลี่ยนแปลงมากเกินไป

2. เงินเป็นเครื่องรักษามูลค่า

โดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจจะพยายามเลือกเก็บทรัพย์สินต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ใกที่สุด การเก็บทรัพย์สินในรูปต่างๆมูลค่าของมันอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ชั้วระยะเวลาหนึ่ง ถ้าทรัพย์สิยนั้นมีมูลค่าสูงแต่ถ้าราคาลกต่ำลงก็ขาดทุน ทรัพย์สินบางชนิดเน่าเสียง่าย บางชนิดไม้สะดวกในการเก็บรักษา ดังนั้นจึงมีผิ้ยมแลกเปลี่ยนสิ่งของดังกล่าวเป็นเงิน เพราะเงินที่ดีมีมูลค่าคงตัวอยู่เสมอ

ประเภทที่ 3 หน้าที่ประกอบ ได้แก่

1. เงินเป็นเครื่องชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย

ในข้อนี้รัฐจะต้องออกกฎหมายให้เงินที่ผลิตออกมา สามารถชำระหนี้ได้ถูกต้องได้ตามกฎหมาย และบนหน้าธนบัตรทุกฉบับก็จะมีข้อความอันนี้ยืนยันไว้ แต้ตัดว่า โดยไม่จำกัดจำนวน ออกไป

2. เงินเป็นเครื่องประกันฐานะของลูกหนี้

การค้าขายในปัจจุบันเป็นการค้าขายโดยใชแครดิตกันมาก โดยเฉพาะการค้าขายด้วยเงินเป็นจำนวนมากประกอบกับการดำเนินธุรกิจประจำวัน ย่อมจะต้องมีการกู้ยืมเงินกันเป็นนิจสิน การกู้ยืมนั้นผู้ขอยืมจะต้องมีเงินสดสำรองอยู่บ้าง

3. เงินเป็นเครื่องมือในการโอนย้ายมูลค่า

ในปัจจุบันนี้เงินทำหน้าที่เป็นหลักในการโอนหนี้ หรือโอนทรัพย์สินหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งหรือจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้โดยสะดวกและรวดเร็ว แม้ว่าในบาครั้งการโอนหนี้ การโอนเงินจะอยู้ในรูปของการใช้ดร๊าฟ หรือใช้เช็คก็ตาม แต่การโอนดังกล่าวก็ใช้เงินเป็นรากฐานในการโอนเงิน

3. ตอบ ปริมาณเงินตามความหมายแคบ (Narrow Money) หมายถึง

ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือประชาชนและเงินฝากเผื่อเรียกของประชาชนที่ระบบธนาคาร

4. ตอบ ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง(Broad Money) หมายถึง

ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือประชาชน นอกจากประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือประชาชนและเงินฝากเผื่อเรียกแล้ว ยังรวมเงินฝากประจำและออมทรัพย์ที่ระบบธนาคารอีกด้วย

5.นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

ตอบ ในการใช้ชีวิตในละวัน เราควรคำนึงถึง ค่าใช้จ่ายแต่ละวัน

โดยไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือย ประหยัด

มนัสนันท์ คีรีวรรณ์

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือ รู้จักวางแผนการใช้เงิน (Financial Planning) การใช้เงินแต่ละครั้งต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุดก่อนควักเงินออกจากกระเป๋า นอกจากนี้การวางแผนการใช้เงินยังช่วยให้คุณไม่ตกเป็นเหยื่อของโปรโมชั่น (ลด-แลก-แจก-แถม) ที่คอยทำให้คุณเกิดการซื้อด้วยอารมณ์ทำให้คุณต้องควักเงินซื้อของที่ไม่มีความจำเป็นเพราะนั่นคือการซื้อเพราะอยากซื้ออยากได้หรือเพราะถูกโน้มน้าวจากโปรโมชั่นของทางผู้ขายสินค้า สำหรับคนที่ขี้ใจอ่อนซื้อของง่ายให้ท่องคาถาประจำตัวไว้ว่า “อย่าซื้อโดยไม่ตั้งใจ” อาจช่วยเราได้บ้าง

ชื่อ นางสาว มนัสนันท์ คีรีวรรณ์ ม. 5/4 เลขที่ 33

1. ตอบ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ตอบ 2.1 เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of exchange )

2.2 เป็นที่เก็บรักษามูลค่า ( Store of value )

2.3 เป็นหน่วยวัดมูลค่า ( Unit of account )

2.4 เป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต ( Standard of deferred payment )

3. ตอบ M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินผ่านกระแสรายวัน ( Demand deposit )

4. ตอบ M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. ตอบ ต้องรู้จักใช้เงินในสิ่งที่จำเป็นหรือที่เรายังขาดและจำเเป็นต้องใช้ในแต่ละวัน และเก็บออมนำเงินที่เก็บแต่ละวันได้เท่าไหร่ก็นำไปฝากธนคารเพื่อเก็บไว้ใช้ในยามจำเป็นหรือใช้เป็นทุนการศึกษษาให้ตัวเองโดยเราก็จะสามารถเเบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้

นางสาว เกษร พานทอง

1. ความหมายของเงินคือ

สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ

เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง

องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือ

รู้จักวางแผนการใช้เงิน (Financial Planning) การใช้เงินแต่ละครั้งต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุดก่อนควักเงินออกจากกระเป๋า นอกจากนี้การวางแผนการใช้เงินยังช่วยให้คุณไม่ตกเป็นเหยื่อของโปรโมชั่น (ลด-แลก-แจก-แถม) ที่คอยทำให้คุณเกิดการซื้อด้วยอารมณ์ทำให้คุณต้องควักเงินซื้อของที่ไม่มีความจำเป็นเพราะนั่นคือการซื้อเพราะอยากซื้ออยากได้หรือเพราะถูกโน้มน้าวจากโปรโมชั่นของทางผู้ขายสินค้า

นางสาว สุวนันท์ วรรณภักท์

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือ รู้จักวางแผนการใช้เงิน (Financial Planning) การใช้เงินแต่ละครั้งต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุดก่อนควักเงินออกจากกระเป๋า นอกจากนี้การวางแผนการใช้เงินยังช่วยให้คุณไม่ตกเป็นเหยื่อของโปรโมชั่น (ลด-แลก-แจก-แถม) ที่คอยทำให้คุณเกิดการซื้อด้วยอารมณ์ทำให้คุณต้องควักเงินซื้อของที่ไม่มีความจำเป็นเพราะนั่นคือการซื้อเพราะอยากซื้ออยากได้หรือเพราะถูกโน้มน้าวจากโปรโมชั่นของทางผู้ขายสินค้า

ธิดารัตน์ คงอุตส่าห์

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือ รู้จักวางแผนการใช้เงิน (Financial Planning) การใช้เงินแต่ละครั้งต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุดก่อนควักเงินออกจากกระเป๋า นอกจากนี้การวางแผนการใช้เงินยังช่วยให้คุณไม่ตกเป็นเหยื่อของโปรโมชั่น (ลด-แลก-แจก-แถม) ที่คอยทำให้คุณเกิดการซื้อด้วยอารมณ์ทำให้คุณต้องควักเงินซื้อของที่ไม่มีความจำเป็นเพราะนั่นคือการซื้อเพราะอยากซื้ออยากได้หรือเพราะถูกโน้มน้าวจากโปรโมชั่นของทางผู้ขายสินค้า

นางสาว สิรินันท์ อ้นทองพิมพ์

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือ รู้จักวางแผนการใช้เงิน (Financial Planning) การใช้เงินแต่ละครั้งต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุดก่อนควักเงินออกจากกระเป๋า นอกจากนี้การวางแผนการใช้เงินยังช่วยให้คุณไม่ตกเป็นเหยื่อ

นางสาว วิไล แก้วมณี

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือ รู้จักวางแผนการใช้เงิน (Financial Planning) การใช้เงินแต่ละครั้งต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุดก่อนควักเงินออกจากกระเป๋า นอกจากนี้การวางแผนการใช้เงินยังช่วยให้คุณไม่ตกเป็นเหยื่อของโปรโมชั่น (ลด-แลก-แจก-แถม) ที่คอยทำให้คุณเกิดการซื้อด้วยอารมณ์ทำให้คุณต้องควักเงินซื้อของที่ไม่มีความจำเป็นเพราะนั่นคือการซื้อเพราะอยากซื้ออยากได้หรือเพราะถูกโน้มน้าวจากโปรโมชั่นของทางผู้ขายสินค้า

จิรภัทร์ ดาวันยัง ม.4/3

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

 

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง คือ ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุด และพอเพียง พอใช้ ประหยัด คับ

 

1.ความหมายของเงิน คือ... อะไรก็ตามที่เป็นที่ในการยอมรับกันโดยทั่วไป ใช้ในการซื้อ-ขาย และบริการ

รวมไปถึงการใช้บริการ

2. หน้าที่ของเงิน คือ...เงินเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการชื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ระบบเศรษฐกิจซึ่งมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ 3 ประเภท คือ

เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of exchange )

เป็นที่เก็บรักษามูลค่า ( Store of value )

เป็นหน่วยวัดมูลค่า ( Unit of account )

เป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต ( Standard of deferred payment )

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง

M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินผ่านกระแสรายวัน ( Demand deposit )

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง

M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินผ่านกระแสรายวัน ( Demand deposit )

M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร

ต้องรู้จักวางแผนในการใช้เงิน ตรวจสอบรายรับรายจ่าย มีการทำบันทึก เก็บเงินฝากธนาคาร

และรู้จักประหยัดใช้เงินตามฐานะของตนเองรู้จักประมาณตน ไม่ฟุ้มเฟ้อฟุ้มเฟือย

รู้จักการวางแผนการใช้เงิน รู้จักออมใช้อย่างประหยัด ไม่ควรจะกู้หนี้ยืมสิน และพอเพียง

นางสาว จิตราพรรณ โชตินอก ชั้น ม.5/3 เลขที่ 27

ตอบข้อ 1. -เงินคือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

ตอบข้อ 2. -เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange) -เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value) -เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account) -เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment)

ตอบข้อ 3. -ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 หมายถึง M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit) ปริมาณเงิน คือ เงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนประกอบด้วย ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชนและรวมถึงเงินฝากกระแสรายวันซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร เช่น ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

ตอบข้อ 4. -ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากของประชาชน M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในตั๋วสัญญาในเงินที่บริษัทลงทุน M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

ตอบข้อ 5. -หลักการใช้เงินก็คือ ใช้เงินอย่างประหยัด คุ่มค่า และรู้คุณค่าของเงิน ก่อนนจะซื้อของแต่ละอบ่างควรคำนึงถึงว่าสิ่งๆนั้นจำเป็นต่อชีวิตประจำวันเราหรือไม่ ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรใช้ เพราะถ้าใช้จ่ายในสิ่งของที่ไม่จำเป็นต่อชีวิตประจำวันก็จะทำให้เงินหมดลงอย่างรวดเร็ว และยังเป็นการฟุ่มเฟือยโดยใช่เหตุอีกด้วย ฉะนั้น การใช้จ่ายแต่ละที ควรคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดว่าสิ่งๆนั้นจำเป็นหรือไม่ ถ้าจำเป็นก็ใช้จ่ายถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ต้องใช้จ่าย

น.ส.พิรญาณ์ ทวยเจริญ ม.5/3

1. ตอบ สิ่งใดก็ได้ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของสังคม ในขณะใดขณะหนึ่ง และในสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนของสินค้าและบริการ ใช้ในการชำระหนี้และอื่นๆ ตามต้องการ

2.ตอบ หน้าที่ของเงินมีหลายประการเช่น 1. เป็นเครื่องวัดมูลค่า

2. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

3. เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ในอนาคต

4. เป็นเครื่องรักษามูลค่า

5. เป็นเครื่องชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย

6. เป็นเครื่องมือประกันฐานะของลูกหนี้

3.ตอบ ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4.ตอบ ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ เราควรคิดคำนวนไต่ตรอง ก็ที่เราจะตัดสินใจซื้อสินค้า เเละรู้จักการเเบ่งเงินออกเป็นส่วนๆในเเต่ละวัน ใช้ส่วนหนึ่งเเละเก็บออมส่วนหนึ่ง

จุฑามาศ อิ่มอกใจ ม.5/3

1.ตอบ คือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2.ตอบ คือ 1.เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(Medium of exchange)

2.เป็นที่เก็บรักษามูลค่า(store of value)

3.เป็นหน่วยวัดมูลค่า(Unit of account)

4.เป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(Standard of deferred payment)

3. ตอบ หรือที่เรียกว่า M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน ( Demand deposit )

4. ตอบ M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a= M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. ตอบ ต้ิองรู้จักใช้เงินให้เป็นและก่อนจะใช้ เงินควรคำนึงถึงความจำเป็นของสิ่งของนั้นว่าจำเป็นมากน้อยเพียงใด เพราะเงินเป็นสิ่งที่หายากมากในตอนนี้ และต้องรู้จักอดออมให้มากในแต่ละวันเพื่อเก็บไว้ซื้อของที่เราอยากได้และมี ความจำเป็นกับและเพื่อเป็นทุนเพื่อการศึกษาในอนาคต

พีระชาติ ชุมภักดี ม5/3 เลขที่ 12

1ตอบ เงินคืออะไรก้อตามที่คนยอมรับในการซื้อขายสินค้า และรวมไปถึงการใช้หนี้

2ตอบ เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (meium of exchange) เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (store of value ) เป็นหน่วยวัดมูลค่า

(unit of account) และเป็นมาตรฐานชำระหนี้ในอนาคต(stand of deferred payment)

3ตอบ ปรมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียนว่า M1 หมายถึง ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

ปริมาณเงินคือ เงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนประกอบด้วย ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึง

เงินฝากกระแสรายวันที่ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4ตอบ ปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากของประชาชน M2a หมายถึง

M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาที่ใช้เงินบริษัทเงินทุน M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคาร

เฉพาะกิจ

5ตอบ เงินนั้นสำคัญต่อการดำเนินชีวิตในปัจจุบันมากดังนั้นเราจึงต้องรู้จักคุณค่าของเงินให้มาก และใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

และต้องรู้จักประหยัดและอดออมไว้เพื่อที่เราจะได้มีเงินเก็บไว้ใช้ในยามจำเป็น

นาย ณัฐวุฒิ บุศราคำ ชั้น ม.5/3 เลขที่7

1.ตอบ- เงิน คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่

2.ตอบ- การเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (medium of exchange) เป็นหน้าที่ที่สำคัญที่สุด เพราะทั้งฝ่ายผู้บริโภค ฝ่ายผู้ผลิต ฝ่ายรัฐบาล ก็ต้องใช้เงินเป็นสื่อกลางทั้งสิ้น - นอกจากจะเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแล้ว เงินยังทำหน้าที่เป็นเครื่องวัดมูลค่า(standard unit of account) ของสิ้นค้าและบริการต่างๆ - การเป็นเครื่องรักษามูลค่า (store of value) การรักษาความสามารถในการซื้อสิ้นค้า และบริการต่างๆได้ - หลายครั้งที่การดำเนินกิจกรรมทางเศษฐกิจบางอย่าง อาจจะต้องมีเรื่องของการกู้หนี้ยืมสิน เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งในการชำระหนี้ที่จะเกิดขึ้นนั้น เงินจะเข้ามาทำหน้าที่ ในการเป็นมาตรฐานของการชำระหนี้ (standard of deferred payment)

3.ตอบ- ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit) องค์ประกอบ แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4.ตอบ- ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money)จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) หมายถึง M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ- หลักการใช้เงิน การวางแผนเงิน ถือเป็นข้อพึงปฎิบัติแรกที่ทุกคนต้องทำ ทั้งวางแผนการเงินของตัวเองและครอบครัวให้เหมาะสม ขั้นตอนการวางแผนมีดังนี้ การสำรวจตัวเอง - กำหนดเป้าหมาย - จัดสัดส่วนการใช้เงินให้เหมาะสม - ลองนำแผนมาปฎิบัติ สิ่งเหล่านี้จะทำให้เรารู้จักใช้เงินและใช้เงินอย่างประยัดไม่ใช้เงินเกินตัวและฐานะทางครอบครัว และเพิ่มรายได้ให้กับตัวเองและครอบครัวอีกด้วย

นางสาว นุชนาฏ กุลเสือ ม.5/3 เลขที่32

1.ความหมายของเงิน คือ อะไรก็ตามเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการซื้อขายสินค้ารวมถึงการชำระหนี้

2.หน้าที่ของเงิน คือ

2.1เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(Medium of exchange)

2.2เป็นที่เก็บรักษาข้อมูล(Store of value)

2.3เป็นหน่วยวัดข้อมูล(Unit of account)

2.4เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(Stand of deferred payment)

3.ปริมาณเงินในความหมายแคบ หมายถึง M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน(Demand deposit)

4.ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง

0 M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

0 M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

0 M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.หลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวัน คือ เราก็จะต้อวางแผนในการใช้เงินในก่อน ควรจะเป็นในด้านที่ถูกต้อง ในด้านที่เหมาะสม ควรใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็นสิ่งไหนไม่จำเป็นมากนักก็ไม่สมควรที่จะจ่ายมันไป อย่างเช่น ซื้อเสื้อผ้าทุกอาทิตย์ อย่างนี้ไม่สมควรเพราะจะทำให้เราเคยตัวจะทำให้เรานั้นเป็นคนฟุ่มเฟือยได้ และควรจะคำนึงว่าเงินนั้นมีค่ามากเพราะกว่าจะได้มาแต่ละบาทนั้นไม่ง่ายเลยจะใช้จ่ายอะไรควรจะคิดติตองให้ดีก่อนและหลักการอีกอย่างหนึ่งคือ ควรรู้จักประหยัดอดออมใช้ส่วนหนึ่งและออมส่วนหนึ่ง ค่ะ

นางสาวเพชราภรณ์ ศุภลักษณ์ ม.5/3 เลขที่ 37

1.> ความหมายของเงิน (Money)

ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่สินค้าและบริการ เงินแบ่งเป็น 3 ชนิด

คือ - เหรียญกษาปณ์ - ธนบัตร - เงินฝากประเภทต่าง ๆ

( กระแสรายวัน,ออมทรัพย์ , ประจำ)

2.> หน้าที่ของเงินมีดังนี้

1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

2. เป็นเครื่องวัดมูลค่า (เมื่อเทียบกับสินค้าและบริการ)

3. เป็นเครื่องรักษามูลค่า (ส่วนใหญ่รักษาค่าเงินด้วยทองคำ)

4. เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ในอนาคต

3.> ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง

องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝาก

เผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน

(Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์

บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ

สหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

4.> ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money)

ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ

โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ

ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตา

มและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.> นักเรียนใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร

ตอบ " ตั้งแต่เราได้เงินมาโรงเรียนจากพ่อแม่เราก็เริ่มวางแผนการใช้จ่ายเงินในวันนั้นว่าจะ

ต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง และ เงินส่วนที่เหลือก็ให้เป็นส่วน ของเงินเก็บ เพื่อนำไปฝากธนาคาร หรือ นำไปใช้ในยามที่จำเป็นจริงๆ

เวลาเราจะเลือกซื้อของชิ้นใดชิ้นหนึ่งนั้นต้องคำนึงถึงความเหมาะสมว่าของสิ่งนั้นเหมาะสมกับเราหรือเปล่า ราคาเหมาะกับสินค้า

หรือไม่และการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และต้องเข้ากับหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงด้วย คือไม่ฟุ่มเฟือยเกินไป

ไม่ใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย และซื้อของที่จำเป็นจริงๆ เป็นต้น " นี่คือหลักการใช้เงินของฉัน

<< น.ส. เพชราภรณ์ ศุภลักษณ์ ม.5/3 เลขที่ 37>>

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2.เงินเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการชื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เป็นเครื่องวัดมูลค่า

3.ตอบ- ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน องค์ประกอบ แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน

4.ตอบ ปริมาณเงินอย่างกว้าง M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากของประชาชน M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาที่ใช้เงินบริษัทเงินทุน M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ใช้ชื้อของตามความเหมาะสมตามระยะเวลาต่างๆเช่นสิ่งของจำเป็น เวลามีก็ใช้อย่างพอประมาณ เวลาไม่มีก็นำที่เก็บออมมาใช้ แทนก็จะพอใช้จ่ายตามสิ่งที่ต้องการได้ เป็นต้น

นางสาวอรชา แย้มกมล ม.5/3 เลขที่49

1.ตอบ เงินคืออะไรก็ตาม ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขาย และบริการ รวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.ตอบ หน้าที่ของเงินคือ 1.เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(Medium of exchange)

2.เป็นที่เก็บรักษามูลค่า(Store of value)

3.เป็นหน่วยวัดมูลค่า(Unit of account)

4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(Standard of deferred payment)

3.ตอบ ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ(Narrow money)หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน(Demand deposit)

4.ตอบ ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง(Broad money)

- M2 หมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

- M2a หมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

- M3 หมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ หลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวัน คือ ใช้เงินเท่าที่จำเป็น ไม่ฟุ้มเฟือย รู้จักการเก็บออม

ต้องรู้จักการวางแผนก่อนใช้เงินว่าสิ่งที่เราจะซื้อนั้นมีความจำเป็นต่อเรามากน้อยแค่ไหน มีความคงทนหรือไม่

คุ้มกับปริมาณเงินที่เราต้องจ่ายไปหรือเปล่า เราต้องรู้จักค่าของเงินให้มากว่าเงินแต่ละบาททำให้พ่อแม่

ตอ้งเหน็ดเหนื่อยขนาดไหนกว่าจะได้เงินมาให้เราได้ใช้จ่าย ได้เรียนหนังสือจนทุกวันนี้

น.ส. ภักครภรณ์ โพธิ์น้อย ม.5/3 เลขที่ 38

1. เงิน คือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขาย และบริการรวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2 .หน้าที่ของเงิน คือ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เป็นที่เก็บรักษามูลค่า เป็นหน่วยวัดมูลค่า เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ใน อนาคต

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ (Narrow money) คือ ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

4. ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) คือ ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียว

กับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3

ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม

ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร

มีการวางแผนในการใช้จ่าย ประหยัด ควรซื้อเฉพาะของที่จำเป็นไม่ใช้จ่ายอย่างฟุ้มเฟือย

นายอาณิ พึ่งสุข ม.5/3 เลขที่24

1.ตอบ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับในการใช้ซื้อ-ขาย บริการ และการใช้หนี้

2.ตอบ 1.เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน 2.เป็นที่เก็บรักษามูลค่า 3.เป็นหน่วยวัดมูลค่า 4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3.ตอบ M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน

4.ตอบ M2 = M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ ใช้อย่างประหยัด ไม่ซื้อของที่ไม่จำเป็น เก็บเงินไว้ใช้ยามที่จำเป็นจะดีกว่า

นางสาวสมฤทัย แสงทองสุขใจ ม5/3 เลขที่46

1. ความหมายของเงิน คือ สิ่งใดไก็ได้ อาจเป็นก้อนหิน แร่ธาตุ ที่สังคมยอมรับโดยทั่วไปขณะใดขณะหนึ่งในแต่ละเขตหรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ โดยใช้ชำระค่าสินค้าและบริการทั้งยังใช้เพื่อการชำระหนี้ในอนาคต

2. หน้าที่ของเงิน คือ เป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนสินค้า,เป็นเครื่องวัดมูลค่า (เมื่อเทียบกับสินค้าและบริการ, เป็นเครื่องรักษามูลค่า (ส่วนใหญ่รักษาค่าเงินด้วยทองคำ),เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ในอนาคต

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง ปริมาณของทรัพย์สินทางการเงินที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน คือ ธนบัตร เหรียญในมือประชาชน ( ไม่รวมธนาคารพาณิชย์ ) และเงินฝากรายวัน ( เงินฝากเผื่อเรียก ) ของภาคเอกชน ( ไม่รวมที่เงินที่อยู่ในมือของธนาคารกลางและกระทรวงการคลัง )

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง ปริมาณเงินตามความหมายแคบ ( M1 ) และสินทรัพย์ทางการเงินที่ให้ผลตอบแทนเป็นเงินโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นั่นคือ เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ของภาคเอกชน ( รวมรัฐวิสาหกิจ )ที่ฝากไว้ที่ธนาคารพาณิชย์ ที่นับรวมเพราะเบิกมาใช้เมื่อไรก็ได้

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย ก่อนที่จะอะไรเราก็ต้องคิดก่อนว่ามันจำเป็นมาแค่ไหน ในแต่ละวันเราต้องวางแผนว่าในหนึ่งวันเราใช่จ่ายไปกับการซื้ออะไรบ้าง อันไหนไม่จำเปนเราก้ไม่ต้องซื้อเพื่อลดรายจ่าย และจะทำให้เรามีเงินเหลือเก้บมากขึ้น

นางสาวศิริพร อินทรโชติ ม.5/3 เลขที่43

1.ตอบ เงินคือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการซื้อขายและบริการรวมไปถึงการชำระหนี้

2.ตอบ หน้าที่ของเงินคือ

2.1)เป็นสื่อกลาง ในการแลกเปลี่ยน(Mediumofexchahge)

2.2)เป็นที่เก็บรักษามูลค่า(Store of value)

2.3)เป็นหน่วยวัดข้อมูล(Unit of account)

2.4)เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(Standard of deferred payment)

3.ตอบ ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน(Demand deposit)

4.ตอบ ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง

๐ M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

๐ M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

๐ M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ ใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้

นายอดิศร ชุ่มทรวง ม.5/3 เลขที่23

1.สิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในการซื้อขาย การให้บริการ และการใช้หนี้

2.เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เป็นที่เก็บรักษาและเป็นหน่วยวัดมูลค่า และเป็นมาตรฐานในการใช้หนี้ในอนาคต

3.M1 คือ ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4.M2 คือ M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน , M2a คือ M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน , M3 คือ M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ

น.ส.สาริณี จันทร์น้อยม.5/3 เลขที่ 47

1. เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งของและถือว่าเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งในชีวิตประจำวันที่เป็นการยอมรับโดยทั่งไปในการซื้อ ขายสินค้า

2. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน,เป็นที่เก็บรักษามูลค่า,เป็นหน่วยวัดมูลค่า,เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3. M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาป์ + เงินฝากกระแสรายวัน

4. M2 = M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. ใช้น้อย ใช้นาน ใช้ให้ประหยัด จำเป็น และคุมค่าที่สุด

นายทนงศักดิ์ ศีรแสงทรัพย์ 5/3 เลขที่8

1 เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งของและถือว่าเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งในชีวิตประจำวันที่เป็นการยอมรับโดยทั่งไปในการซื้อ ขายสินค้า และเป็น สิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในการซื้อขาย การให้บริการ และการใช้หนี้

2 เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เป็นที่เก็บรักษามูลค่า เป็นหน่วยวัดมูลค่า เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3 M1 คือ ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4 M2 = M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

5 ควรรู้จักประหยัดอดออมใช้ส่วนหนึ่งและออมส่วนหนึ่งน่ะคัฟผม

นายกฤษขจร เหมือนวงศ์ ม.5/3 เลขที่ 1

1 เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งของและถือว่าเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งในชีวิตประจำวันที่เป็นการยอมรับโดยทั่งไปในการซื้อ ขายสินค้า และเป็น สิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในการซื้อขาย การให้บริการ และการใช้หนี้

2 เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เป็นที่เก็บรักษามูลค่า เป็นหน่วยวัดมูลค่า เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3 M1 คือ ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4 M2 = M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

5 ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือย

ศุภวรรณ ภูมิดา ม.5/3 เลขที่45

1.ตอบ อะไรก็ตามที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ ซื้อ-ขาย สินค้าและบริการ รวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.ตอบ 1.เป็นสื่อกลางในกลางแลกเปลี่ยน 2.เป็นที่เก็บรักษามลูค่า 3.เป็นหน่วยวัดมลูค่า 4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้

3.ตอบ M1=ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4.ตอบ M2หมายถึงM1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2aหมายถึงM2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั่วสัญญาใช้เงินบริษัทเงินทุน

M3หมายถึงM2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนคารเฉพาะกจิ

4.ตอบใช้อย่างประหยัด เวลาจะใช้ควรคิดว่าสิ่งที่จะซื้อหรือจะใช้มันจำเป็นมาแค่ไหนและควรเก็บเงินไว้เพื่อวันข้างหน้า

เมื่อมีเหตุจำเป็น

ศุภวรรณ ภูมิดา ม.5/3 เลขที่45

1.ตอบ อะไรก็ตามที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ ซื้อ-ขาย สินค้าและบริการ รวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.ตอบ 1.เป็นสื่อกลางในกลางแลกเปลี่ยน 2.เป็นที่เก็บรักษามลูค่า 3.เป็นหน่วยวัดมลูค่า 4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้

3.ตอบ M1=ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4.ตอบ M2หมายถึงM1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2aหมายถึงM2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั่วสัญญาใช้เงินบริษัทเงินทุน

M3หมายถึงM2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนคารเฉพาะกจิ

5.ตอบใช้อย่างประหยัด เวลาจะใช้ควรคิดว่าสิ่งที่จะซื้อหรือจะใช้มันจำเป็นมาแค่ไหนและควรเก็บเงินไว้เพื่อวันข้างหน้า

เมื่อมีเหตุจำเป็น

นางสาว ศุทธนุช มุ้งทอง

1. เงินคือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อขายสินค้า่และบริการรวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.หน้าที่ของเงินคือ 1เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(medium of exchange)

 2เป็นที่เก็บรักษามูลค่า(store of value)

 3เป็นหน่วยวัดมูลค่า(unit fo account )

 4เป็นมาตฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(standard fo deferred payment)

3.ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบหมายถึง M1 =ธนบัตร+เหรียน+เงินฝากกระแสรายวัน

4.ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้างหมายถึง M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสันญวใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.หลักการใช้เงินของฉันคือ ก่อนจะใช้เงินมีเงินเท่าไรก็เอาเก็บไว้ก่อนส่วนหนึ่งฉันจะไม่ใช้ให้เงินหมดไปฉันจะหักเก็บไว้ก่อน เช่นแม่ให้เงินมา100ค่ารถเมล์30ฉันก้อจะเหลือเงินที่ใช้70บาทฉันจะเอามาใช้40และจะเก็บไว้30บาทเพื่อเป็นเงินเก็บของตัวเอง

นาย ยงยุทธิ์ รุ่งแจ่ม ม.5/3

1. ความหมายของเงิน คือ ...

ตอบ อะไรก็ตามที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ ซื้อ-ขาย สินค้าและบริการ รวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2. หน้าที่ของเงิน คือ ...

ตอบ 1. สื่อการในการแลกเปลี่ยน

2. เป็นที่เก็บรักษามูลค่า

3.เป็นหน่วยวัดมูลค่า

4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง...

ตอบ หรื่อเรยกว่า m1 = ธนบัตร+เหรียน + เงินฝากกระแสรายวัน

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง...

ตอบ 1. M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

2. M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสันญวใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

3. M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

ตอบ เราควรใช้อย่างประหยัดเพราะว่าในปัจจุบันประเทศของเราของแพ้ขึ้นถ้าเกิดเราช่วยกันประหยัดคนละนิดประเทศของเราก็จะเจริญ

จักรภัทร พร้อมพิมพ์

1.ตอบ เงินคือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ - ขาย และบริการ

2.ตอบ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

เป็นที่เกบรักษามูลค่า (Store of Value)

เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of accound)

เป็นมาตราในการชำระหนี้ในอนาคต (Standdard of deferred payment)

3.ตอบ ปริมาณเงินอย่างแคบหรือเรียกว่า M1 (Narrow money)

M1 หมายถึง ธนบัตร+เหรียกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน Demant

4.ตอบ ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broud money)

M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำขของประชาชน

M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงิน

M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ การใช้เงินแต่ละครั้งควรคำนึงถึงคุณค่า และประโยชน์ของมัน ไม่ใช่แค่เพราะซื้อมาแล้วได้ความสุขเพียงชั่วคราว

น.ส. สุทิดา สุขการค้า ม.5/4

1.ความหมายของเงิน คือ อะไรก็ตามเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการซื้อขายสินค้ารวมถึงการชำระหนี้

2.หน้าที่ของเงิน คือ

2.1เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(Medium of exchange)

2.2เป็นที่เก็บรักษาข้อมูล(Store of value)

2.3เป็นหน่วยวัดข้อมูล(Unit of account)

2.4เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(Stand of deferred payment)

3.ปริมาณเงินในความหมายแคบ หมายถึง M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน(Demand deposit)

4.ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง

0 M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

0 M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

0 M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.หลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวัน คือ เราก็จะต้อวางแผนในการใช้เงินในก่อน ควรจะเป็นในด้านที่ถูกต้อง ในด้านที่เหมาะสม ควรใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็นสิ่งไหนไม่จำเป็นมากนักก็ไม่สมควรที่จะจ่ายมันไป อย่างเช่น ซื้อเสื้อผ้าทุกอาทิตย์ อย่างนี้ไม่สมควรเพราะจะทำให้เราเคยตัวจะทำให้เรานั้นเป็นคนฟุ่มเฟือยได้ และควรจะคำนึงว่าเงินนั้นมีค่ามากเพราะกว่าจะได้มาแต่ละบาทนั้นไม่ง่ายเลยจะใช้จ่ายอะไรควรจะคิดติตองให้ดีก่อนและหลักการอีกอย่างหนึ่งคือ ควรรู้จักประหยัดอดออมใช้ส่วนหนึ่งและออมส่วนหนึ่ง ค่ะ

จิรภัทร์ ดาวันยัง ม.5/3 เลขที่ 5

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง คือ ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย คือต้องมีความคุ้มค่าและทำให้เกิดความพอใจสูงสุด และพอเพียง พอใช้ ประหยัด คับ

นางสาวภัทราดี ยวนชื่น ม5/3 เลขที่40

1. ตอบ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ตอบ 2.1 เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of exchange )

2.2 เป็นที่เก็บรักษามูลค่า ( Store of value )

2.3 เป็นหน่วยวัดมูลค่า ( Unit of account )

2.4 เป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต ( Standard of deferred payment )

3. ตอบ M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินผ่านกระแสรายวัน ( Demand deposit )

4. ตอบ M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. ตอบ ต้องรู้จักใช้เงินในสิ่งที่จำเป็นหรือที่เรายังขาดและจำเเป็นต้องใช้ในแต่ละวัน และเก็บออมนำเงินที่เก็บแต่ละวันได้เท่าไหร่ก็นำไปฝากธนคารเพื่อเก็บไว้ใช้ในยามจำเป็นหรือใช้เป็นทุนการศึกษษาให้ตัวเองโดยเราก็จะสามารถเเบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้

น.ส.วรรณธิณี ป่งแก้ว ม.5/4 เลขที่ 36

1.ความหมายของเงิน คือ ตอบ อะไรก็ตามเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการซื้อขายสินค้ารวมถึงการชำระหนี้

2. หน้าที่ของเงิน คือ ตอบ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง ตอบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง... ตอบ

M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย... ตอบ ตั้งแต่เราได้เงินมาโรงเรียนจากพ่อแม่เราก็เริ่มวางแผนการใช้จ่ายเงินในวันนั้นว่าจะ ต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง และ เงินส่วนที่เหลือก็ให้เป็นส่วน ของเงินเก็บ เพื่อนำไปฝากธนาคาร หรือ นำไปใช้ในยามที่จำเป็นจริงๆเท่านั้น เพราะในอนาคตข้างหน้าเราจะได้มีเงินเหลือเพื่อจะได้ไปใช้จ่ายสิ่งที่เราอยากได้ไม่ต้องมาขอเงินคุณพ่อคุณแม่เลยเพราะเรารู้จักเก็บเงิน

อานุ สีหินกอง ม.5/4เลขที่24

1ตอบเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2ตอบเงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ

3ตอบสมัยก่อนคนเรามีการแลกเปลี่ยนสิ่งของซึ่งกันและกัน แต่มาปัจจุบัน เงิน กลายเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งของ ซึ่งก่อให้เกิดความง่ายดายในการแลกเปลี่ยนสิ่งของ และเงินก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนเรา

4ตอบ0 M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

0 M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

0 M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5ตอบ ตัวอย่างการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของฉัน เช่น

- ด้านการใช้จ่ายเงินในครอบครัว คือ ครอบครัวของฉันจะมีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายประจำวัน รวมถึงฉันเองก็จะมีการวางแผนหรือจดบันทึกเพื่อที่จะได้ทราบว่าในแต่ละวันเราใช้จ่ายไปเท่าไหร่ ครอบครัวเราใช้จ่ายอะไรบ้างในแต่ละวัน ซึ่งเราจะได้รู้ถึงหลักการในการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมภายในครอบครัว

น.ส.ฐิติพร พูนโภค ม.5/3 เลขที่ 30

1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน

2. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of exchange )

เป็นที่เก็บรักษามูลค่า ( Store of value )

เป็นหน่วยวัดมูลค่า ( Unit of account )

3. M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินผ่านกระแสรายวัน ( Demand deposit )

4. M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. พอเพียง พอใช้ ประหยัด

สันติภาพ อาดำม.5/4 เลขที่21

1.ตอบเงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

ความสำคัญของเงิน

2.ตอบเงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ

3.ตอบ o ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4.ตอบo ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

5.ตอบตัวอย่างการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของฉัน เช่น

- ด้านการใช้จ่ายเงินในครอบครัว คือ ครอบครัวของฉันจะมีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายประจำวัน รวมถึงฉันเองก็จะมีการวางแผนหรือจดบันทึกเพื่อที่จะได้ทราบว่าในแต่ละวันเราใช้จ่ายไปเท่าไหร่ ครอบครัวเราใช้จ่ายอะไรบ้างในแต่ละวัน ซึ่งเราจะได้รู้ถึงหลักการในการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมภายในครอบครัว

- ด้านการใช้เงิน คือ ตั้งแต่เราได้เงินมาโรงเรียนจากพ่อแม่เราก็เริ่มวางแผนการใช้จ่ายเงินในวันนั้นว่าจะ ต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง และ เงินส่วนที่เหลือก็ให้เป็นส่วน ของเงินเก็บ เพื่อนำไปฝากธนาคาร หรือ นำไปใช้ในยามที่จำเป็นจริงๆ

- ด้านการเลือกซื้อของ คือ เวลาเราจะเลือกซื้อของชิ้นใดชิ้นหนึ่งนั้นต้องคำนึงถึงความเหมาะสมว่าของสิ่งนั้นเหมาะสมกับเราหรือเปล่า ราคาเหมาะกับสินค้าหรือไม่และการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และต้องเข้ากับหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงด้วย คือไม่ฟุ่มเฟือยเกินไป ไม่ใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย และซื้อของที่จำเป็นจริงๆ เป็นต้น

น.ส.อภิรมย์ อินทรมหาพล ม.5/4 เลขที่44

1. เงินคือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อขายสินค้า่และบริการรวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2.หน้าที่ของเงินคือ 1เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(medium of exchange)

2เป็นที่เก็บรักษามูลค่า(store of value)

3เป็นหน่วยวัดมูลค่า(unit fo account )

4เป็นมาตฐานในการชำระหนี้ในอนาคต(standard fo deferred payment)

3.ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบหมายถึง M1 =ธนบัตร+เหรียน+เงินฝากกระแสรายวัน

4.ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้างหมายถึง M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสันญวใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.หลักการใช้เงินของฉันคือ ก่อนจะใช้เงินมีเงินเท่าไรก็เอาเก็บไว้ก่อนส่วนหนึ่งฉันจะไม่ใช้ให้เงินหมดไปฉันจะหักเก็บไว้ก่อน

น.ส วิลาวัณย์ สละกลาง ม.5/3 เลขที่42

1ตอบ เงินคืออะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ ซื้อ-ขาย สินค้าและบริการรวมไปถึงการชำระหนี้

2ตอบ 2.1 เป็นสื่อกลางของการแลกเปลี่ยน

2.2เป็นที่เก็บรักษามูลค่า

2.3เป็นหน่วยวัดมูลค่า

2.4เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3ตอบ ปริมาณเงินอย่างแคบ หรือที่เรียกว่าM1 จะหมายถึง M1=ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4ตอบ 1.M2หมายถึงM1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

2.M2aหมายถึงM2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

3.M3หมายถึงM2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5ตอบ เราต้องรู้จักการใช้เงิน และเราต้องใช้เงินอย่างประหยัดและให้คุ้มค่ากับการใช้เงินก้อนนั้นไป เงินจำเป็นกับชีวิตเรามากเพราะฉะนั้นแล้วเราควรคิดก่อนจะใช้เงินก้อนนั้นไป

นางสาว สิตานันท์ สิมมาลับ เลขที่48 ม.5/3

1.“เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่

2. 1.เป็นสื่อกลางในกลางแลกเปลี่ยน 2.เป็นที่เก็บรักษามลูค่า 3.เป็นหน่วยวัดมลูค่า 4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้

3.M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4.ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. รู้จัก ออม รู้จัก เก็บ ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟื่อย คิดก่อนใช้เสมอเพราะเงินหายาก

อย่าย่ามใจ ควรตรวจเงินในกระเป๋าสัปดาห์ละครั้งค่ะเพื่อเปรียบเทียบส่วนที่ใช้ไปกับเงินที่เหลือติดในกระเป๋าของเราทำบัญชีรายรับรายจ่ายด้วยค่ะ

เบญจมาศ ภูตะวัน เลขที่ 30 ม.5/4

1.เงินคือสิ่งที่เอาไว้เเรกเปลี่ยนกัน

2.1.เป็นสื่อกลางในกลางแลกเปลี่ยน 2.เป็นที่เก็บรักษามลูค่า 3.เป็นหน่วยวัดมลูค่า 4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้

3. M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

4.ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ

* M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

* M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

* M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.รู้ข้อกําจัดของตัวเอง รู้ศักยภาพการหมุนเงินของตัวเอง ไม่ฟุ่มเฟื่อยเวลาซื้อของหรือใช้เงิน

นายเฉลิมชัย ทองห่อ เลขที่ 6 ม.5/3

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

• เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment) หน้าที่นี้เกิดขึ้นเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเงินเชื่อกัน เพราะการกำหนดเป็นการคืนด้วยเงินนั้น ย่อมที่จะดีกว่าการกำหนดการคืนด้วยสินค้า ซึ่งอาจมีปัญหาทั้งด้านขนาด ปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งสินค้าบางอย่างยังอาจเน่าเสียได้ง่าย

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น เนื่องจากเรื่องของ ปริมาณเงินนั้น ยังคงมีอีกหลายแง่มุมที่เกี่ยวข้องกัน แต่เพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวจนเกินไป จึงขออนุญาตเก็บไว้เล่าในตอนต่อไปว่าปริมาณเงินเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ถ้าเปลี่ยนแปลงได้จะเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยใด คนมีความต้องการถือเงิน (Demand for money) เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และเกี่ยวข้องอะไรกับอัตราดอกเบี้ยหรือเปล่า รวมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ พอเพียง พอใช้ ประหยัด

นาย เฉลิมชัย ทองห่อ เลขที่ 6 ม.5/3

นาย จักรี เผื่อนใจเอี่ยม เลขที่ 6 ม.5/4

1. ความหมายของเงิน คือ ...

อะไรก็แล้วแต่ที่สังคมยอมรับในการแลกเปลี่ยนสินค้าและสามารถชําระหนี้ได้

2. หน้าที่ของเงิน คือ ...

.1 เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

.2 เป็นที่เก็บรักษามูลค่า

.3 เป็นหน่วยวัดมูลค่า

.4 เป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง...

.M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง...

1. M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

2. M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสันญวใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

3. M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

ใช้อย่างประหยัดและรู้จักเก็บอดออม ใช้อย่างคุ้มค่าคิดก่อนใช้เงินเสมอ

และไม่ฟุ้มเฟื่อย

นายธนาธิป สุขเจริญ ม.5/4 เลขที่ 10

ข้อ1.เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสิค้า และชำระหนี้

ข้อ2.1.เป็นสื่อกลางในกลางแลกเปลี่ยน 2.เป็นที่เก็บรักษามลูค่า 3.เป็นหน่วยวัดมลูค่า 4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้

ข้อ3.M1=ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

ข้อ4.M2 = M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตัวสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

ข้อ5.ใช้อย่างประหยัดอดออมคราฟผม☻♥☺

นาย จักรกฤษ โม่งใส 5/4 เลขที่5

1.ตอบ เงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

ความสำคัญของเงิน

2. ตอบคือ เป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนสินค้า,เป็นเครื่องวัดมูลค่า (เมื่อเทียบกับสินค้าและบริการ, เป็นเครื่องรักษามูลค่า (ส่วนใหญ่รักษาค่าเงินด้วยทองคำ),เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ในอนาคต

3.> ตอบ

องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝาก

เผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน

(Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์

บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็นต้น

4.ตอบ

0 M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

0 M2a หมายถึง M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

0 M3 หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ

ใช้เงินเท่าที่จำเป็น ไม่ฟุ้มเฟือย ครับอาจารย์↨§↨

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก

2. หน้าที่ของเงิน คือ ...เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง... M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน(Demand deposit)

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง...1. M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

2. M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสันญวใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

3. M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...ไม่ฟุ้มเฟื่อยและต้องประหยัดไว้เพื่อวันข้างหน้า

จตุพร สาโรจน์ เลขที่นะครับ4 ม.นะครับ5/4

1. ความหมายของเงิน คือ ...

ตอบ อะไรก็ตามที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ ซื้อ-ขาย สินค้าและบริการ รวมไปถึงการใช้ชำระหนี้

2. หน้าที่ของเงิน คือ ...

ตอบ 1. สื่อการในการแลกเปลี่ยน

2. เป็นที่เก็บรักษามูลค่า

3.เป็นหน่วยวัดมูลค่า

4.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง...

ตอบ หรื่อเรยกว่า m1 = ธนบัตร+เหรียน + เงินฝากกระแสรายวัน

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง...

ตอบ 1. M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

2. M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสันญวใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

3. M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

เราต้องรู้จักการใช้เงิน และเราต้องใช้เงินอย่างประหยัด

นางสาว จุติพร ตรีเกษม

1.เงิน คือ อะไรก็ได้ที่เป้นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการซื้อ-ขายสินค้า บริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2.หน้าที่ของเงิน คือ

-เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

-เป็นที่เก็บรักษามูลค่า

-เป็นหน่วยวัดมูลค่า

-เป็นมาตราฐานในการชำระหนี้ในอนาคต

3.ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง M1= ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4.ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง เงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบเงินฝากออมทรัพย์ และ

เงินฝากประจำ

-M2=M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประชาชน

-M2a=M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

-M3=M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ใช้เงินไม่ฟุ่มเฟือย ใช้เท่าที่จำเป็น

นาย กิตติศักดิ์ พร้อมลาภ 5/4 เลขที่2

1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน

2. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of exchange )

เป็นที่เก็บรักษามูลค่า ( Store of value )

เป็นหน่วยวัดมูลค่า ( Unit of account )

3. M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินผ่านกระแสรายวัน ( Demand deposit )

4. M2 = M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a+เงินฝากประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. พอเพียง พอใช้ ประหยัด

1. ความหมายของเงินคือ สิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนไม่ว่ามนุษย์จะอย่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศัยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เงินที่นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นเงินชนิดใด ๆ ทำหน้าที่สำคัญ ๆ 4 ประการ เช่น ต้องเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ต้องเป็นมาตราฐานในการวัดมูลค่าได้ เป็นต้น

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง คือ ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย พอเพียง พอใช้ ประหยัด คับ ง่าย ๆ

1. ความหมายของเงิน คือเงิน คือสิ่งที่คนในสังคมได้สมมติขึ้น เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

ความสำคัญของเงินไม่ว่ามนุษย์จะอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด ย่อมต้องอาศํยเงินเป็นประการสำคัญ เพราะเงินช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน การผลิต และการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

2. หน้าที่ของเงิน คือ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of Exchange )

เป็นมาตรฐานในการวัดค่า ( Standard of Value )

เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ภายหน้า ( Standard of Deferred Payment )

เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า ( Store of Value )

3. ปริมาณเงินในความหมายอย่างแคบ หมายถึง ( M1 ) หมายถึงปริมาณของทรัพย์สินทางการเงินที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน คือ ธนบัตร เหรียญในมือประชาชน ( ไม่รวมธนาคารพาณิชย์ ) และเงินฝากรายวัน ( เงินฝากเผื่อเรียก ) ของภาคเอกชน ( ไม่รวมที่เงินที่อยู่ในมือของธนาคารกลางและกระทรวงการคลัง )

4. ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง ( M2 ) หมายถึง ปริมาณเงินตามความหมายแคบ ( M1 ) และสินทรัพย์ทางการเงินที่ให้ผลตอบแทนเป็นเงินโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นั่นคือ เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ของภาคเอกชน ( รวมรัฐวิสาหกิจ )ที่ฝากไว้ที่ธนาคารพาณิชย์ ที่นับรวมเพราะเบิกมาใช้เมื่อไรก็ได้

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย ใช้เงิน เป็น ประหยัด พอเพียงไม่ใช้เพียงพอ เก็บ บ้างยาม จำเปน ใช้ บ้างยามคับขัน

วราวุธ ศรีทอง 5/3 เลขที่ 17

ลืม เขียน คับ เลย เขียน ทับ อีก ที ขอโทด ครับ

1.เป็นสื่อกลางและเป็นที่ยอมรับในการซื้อขาย แลกเปลี่ยน และชำระหนี้

2.เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้

เป็นหน่วยวันมูลค่า

ป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

3.เรียกว่า M1 = ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์+เงินฝากกระแสรายวัน

4. M2 = M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a = M2 + เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3 = M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. มีสติ รู้ทันตัวเอง ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เตรียมพร้อมกับอนาคต

นายวรวิทย์ ศรีพงษ์

1.ตอบ เงิน คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่

2.ตอบ   •    เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

            •    เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

            •    เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

            •    เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment)

3.ตอบ เงินในความหมายอย่างแคบหรือ M1   ประกอบด้วย เหรียญกษาปณ์ และธนบัตร ตลอดจนเงินฝากกระแสรายวันที่จ่ายโอนกันด้วยเช็ค

4.ตอบ M2   จะประกอบ M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2aประกอบไปด้วย M2+เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

M3ประกอบไปด้วยM2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ เราควรใช้เงินให้พอตัวไม่ใช้มี 20 ใช้ 25 อย่างน้อยเราควรจะเหลือเก็บซักบาทหนึ่งก็ดีเพื่อเก็บไว้ใช้ในยามที่จำเป็นบาง

นายเรวัต กรวยทอง ม.5/4 เลขที่15

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

• เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment) หน้าที่นี้เกิดขึ้นเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเงินเชื่อกัน เพราะการกำหนดเป็นการคืนด้วยเงินนั้น ย่อมที่จะดีกว่าการกำหนดการคืนด้วยสินค้า ซึ่งอาจมีปัญหาทั้งด้านขนาด ปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งสินค้าบางอย่างยังอาจเน่าเสียได้ง่าย

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น เนื่องจากเรื่องของ ปริมาณเงินนั้น ยังคงมีอีกหลายแง่มุมที่เกี่ยวข้องกัน แต่เพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวจนเกินไป จึงขออนุญาตเก็บไว้เล่าในตอนต่อไปว่าปริมาณเงินเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ถ้าเปลี่ยนแปลงได้จะเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยใด คนมีความต้องการถือเงิน (Demand for money) เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และเกี่ยวข้องอะไรกับอัตราดอกเบี้ยหรือเปล่า รวมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ พอเพียง พอใช้ ประหยัด

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5. นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย พอเพียง พอใช้ ประหยัด คับ ง่าย ๆ

นายคมสัน อ่อนหนู ม.5/4 เลขที่3

ขอโทษคับ

ลืมเขียนเลขที่คับ

นายชลัมพล ดอนเมืองปัก 5/4 เลขที่9

1. ตอบ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ตอบ 2.1 เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of exchange )

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น เนื่องจากเรื่องของ ปริมาณเงินนั้น ยังคงมีอีกหลายแง่มุมที่เกี่ยวข้องกัน แต่เพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวจนเกินไป จึงขออนุญาตเก็บไว้เล่าในตอนต่อไปว่าปริมาณเงินเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ถ้าเปลี่ยนแปลงได้จะเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยใด คนมีความต้องการถือเงิน (Demand for money) เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และเกี่ยวข้องอะไรกับอัตราดอกเบี้ยหรือเปล่า รวมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ พอเพียง พอใช้ ประหยัด

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.ตอบ การใช้เงินแต่ละครั้งควรคำนึงถึงคุณค่า และประโยชน์ของมัน ไม่ใช่แค่เพราะซื้อมาแล้วได้ความสุขเพียงชั่วคราว

อาจารย์ ผมลืม เขียนเลขที่ 20 ม5/4 ครับ

คำตอบข้อ1.เงินคืออะไรก็ได้ที่เป็นซื่อกลางในแลกเปลี่ยนและมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ และเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป

คำตอบข้อ2.1.เป็นซื่อกลางไนการแลกเปลี่ยน

2.เป็นที่เก็บรักษามูลค่า

3.เป็นหน่วยวัดมูลค่า

คำตอบข้อ3.ปริมาณเงินไนความหมายอย่งแคบคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ไนมือประชาชนประกอบด้วยธนบัติและเหรียญกษาปณ์รวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน

คำตอบข้อ4.เงินไนความหมายอย่างกว้างคือจะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ไนรูปเงินฝากออมทรัพย์เงินฝากประจำเงินฝากไนรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุนเงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

คำตอบข้อที่5.ใช้หนึ่งส่วนออมสามส่วน

นายนลธวัช เตมิยะติรินทร์ ม5/4 เลขที่ 13

ปลอมแปลง และเก็บไว้ได้นานโดยไม่เสื่อมสภาพ เงินสามารถแบ่งเป็นหน่วยย่อย ๆได้ และสามารถนำติดตัวไปเพื่อการแลกเปลี่ยนสินค้าได้ง่าย

3ตอบ. • ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียว

กับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3

ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม

(ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

4ตอบ.M2 หมายถึง M1+เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

-M2a หมายถึง M2+เงินฝากประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน-Ms หมายถึง M2a+เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารธนกิจ

.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ พอเพียง พอใช้ ประหยัด

นายนลธวัช เตมิยะติรินทร์ ม5/4 เลขที่ 13

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

• เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment) หน้าที่นี้เกิดขึ้นเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเงินเชื่อกัน เพราะการกำหนดเป็นการคืนด้วยเงินนั้น ย่อมที่จะดีกว่าการกำหนดการคืนด้วยสินค้า ซึ่งอาจมีปัญหาทั้งด้านขนาด ปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งสินค้าบางอย่างยังอาจเน่าเสียได้ง่าย

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น เนื่องจากเรื่องของ ปริมาณเงินนั้น ยังคงมีอีกหลายแง่มุมที่เกี่ยวข้องกัน แต่เพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวจนเกินไป จึงขออนุญาตเก็บไว้เล่าในตอนต่อไปว่าปริมาณเงินเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ถ้าเปลี่ยนแปลงได้จะเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยใด คนมีความต้องการถือเงิน (Demand for money) เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และเกี่ยวข้องอะไรกับอัตราดอกเบี้ยหรือเปล่า รวมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ พอเพียง พอใช้ ประหยัด

อาจารย์คับผมทำใหม่ลืมเขียนข้อคับ

พิชิตชัย แถ้วกุดตุ้ม ม.5/4 เลขที่14

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

5.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน อะไรก็ใช้วิธียอดกระปุกออมสินวันละบาทสองบาทจนครบแล้วค่อยเอาเงินที่ออมได้ไปซื้อมาก็ได้ไม่ใช้เงินฟุ้มเฟือยซื้อของอย่างประหยัดไม่ควรให้ความสนใจกับของไร้สาระ พอเพียง พอใช้ ประหยัด

นายธวัชชัย ตล่มทองม.5/4 เลขที่11

1. ความหมายของเงิน (Money) ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ “เงิน” คืออะไรก็ได้ที่ สังคมยอมรับ ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ D Ms ของเงินมีผลต่อตัวแปรทาง ศ.ก. เช่น GNP, i, I , P และการจ้างงาน อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้าและบริการ รวมไปถึงการชำระหนี้

2. ด้วยปัญหาข้างต้น เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

• เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment) หน้าที่นี้เกิดขึ้นเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเงินเชื่อกัน เพราะการกำหนดเป็นการคืนด้วยเงินนั้น ย่อมที่จะดีกว่าการกำหนดการคืนด้วยสินค้า ซึ่งอาจมีปัญหาทั้งด้านขนาด ปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งสินค้าบางอย่างยังอาจเน่าเสียได้ง่าย

3. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ (Narrow money) หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1 = ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

4. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น เนื่องจากเรื่องของ ปริมาณเงินนั้น ยังคงมีอีกหลายแง่มุมที่เกี่ยวข้องกัน แต่เพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวจนเกินไป จึงขออนุญาตเก็บไว้เล่าในตอนต่อไปว่าปริมาณเงินเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ถ้าเปลี่ยนแปลงได้จะเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยใด คนมีความต้องการถือเงิน (Demand for money) เพื่อวัตถุประสงค์ใดบ้าง และเกี่ยวข้องอะไรกับอัตราดอกเบี้ยหรือเปล่า รวมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

5.เราควนใช้แบบประหยัดอย่างเช่น สิ่งของอะไรที่อยากได้แต่ถ้ามันแพงเนไปก็จะยังไม่ซื้อแต่จะเอาไว้เวลาจำเป็นที่จะต้องใช้จริงๆค่อยซื้อและก็เลือกที่ราคาไม่แพงจนเกินไปเพื่อประหยัดเงินในกระเป๋าหรือม่ก็ถ้าอยากได้ เเละเรากว่าจะได้เงินมาเเต่ละบาทเราต้องไปทำงานเเลกเงินมาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน

กรณีนักศึกษาวิชาทหาร

กำหนดส่งข้อมูลได้ถึง เวลา 18.00 น.ของวันที่ 5 มิถุนายน 2554ค่ะ

แพรวไพลิน แก้วนิยม

เงิน คือ อะไรก็ตามที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการใช้ซื้อ-ขายสินค้า

และบริการ รวมไปถึงการใช้ชำระหนี้ โดยในสมัยก่อน คนอาจจะใช้เปลือกหอย หรือทอง

หรือโลหะอะไรก็ได้เพื่อใช้เป็นเงิน ตราบเท่าที่คนในสังคมยอมรับค่าของสิ่งนั้น ๆ แต่ทั้งนี้

ก็ต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญคือ เมื่อกำหนดค่าของเงินแล้ว ค่านั้นจะต้องคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง

รวดเร็ว ไม่ใช่วันนี้มีค่า 1 บาท แต่อีกวันมีค่าแค่ 50 สตางค์ หรืออีกวันมีค่าถึง 100 บาท

เป็นต้น ทั้งนี้ ก็เพื่อให้สิ่งๆ นั้นยังสามารถทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนในสังคมได้

เนื่องจากหากค่าของเงินไม่คงที่ เช่น ด้อยลงเรื่อย ๆ คนในสังคมก็จะขาดความเชื่อถือ

และไม่ยอมรับเงินนั้นเป็นสื่อกลาง รวมทั้งไม่ยอมรับให้เป็นสิ่งที่ใช้ชำระหนี้ในอนาคต

เมื่อรู้เรื่องของเงินแล้วว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร ก็มาดูเรื่องของคำว่า “ปริมาณเงิน”

ที่มักจะมีการพูดถึงอยู่เรื่อย ๆ ในสื่อต่าง ๆ

เงินจึงเกิดขึ้นและทำหน้าที่ดังนี้

• เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of exchange)

• เป็นที่เก็บรักษามูลค่า (Store of value)

• เป็นหน่วยวัดมูลค่า (Unit of account)

• เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต (Standard of deferred payment) หน้าที่นี้เกิดขึ้นเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเงินเชื่อกัน เพราะการกำหนดเป็นการคืนด้วยเงินนั้น ย่อมที่จะดีกว่าการกำหนดการคืนด้วยสินค้า ซึ่งอาจมีปัญหาทั้งด้านขนาด ปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งสินค้าบางอย่างยังอาจเน่าเสียได้ง่าย

• ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง (Broad money) ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียว

กับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2 M2a M3

ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม

(ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

o M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

o M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

o M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

แต่ ปัจจุบัน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้เผยแพร่นิยามใหม่ของปริมาณเงิน โดยนิยามของปริมาณเงินที่ใช้กันอยู่ล่าสุด

จะเหลือเพียงปริมาณเงินใน 2 นิยามเท่านั้น คือ

o ปริมาณเงินตามความหมายแคบ องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝาก

กระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่

สถาบันรับฝากเงิน (Demand deposits at depository corporations) ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ

สหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)

o ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ

เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน

เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงิน

ในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

นักเรียนมีหลักการในการใช้เงินในชีวิตประจำวันอย่างไร อธิบาย...

1 .สิ่งสำคัญมาก ๆ สำหรับการใช้เงินให้ได้ผล คือการทำตัวเป็นต้นแบบที่ดีด้วยค่ะ อะไรที่เราก็ต้องทำอย่างนั้น เช่น เรารู้จักประหยัด แต่เราเองไม่ทำก็ไม่มีประโยชน์อะไรหรอกค่ะ

2. ได้รับผิดชอบเงินของตัวเอง ว่าสิ่งไหนที่เราควรจ่ายหรือไม่ควรจ่าย เช่น ถ้าอยากได้ของเล่นที่แถมมากับขนม ซึ่งเราดูแล้วว่าไม่

มีประโยชน์ต้องใช้เงินอย่างจำเป็น

3. ใช้เงินเหมือนกับ น้ำยาหยดตา เช่น ใช้เงินนิดเดียว อย่าฟุ่มเฟือย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท