ความขัดแย้งเบื้องต้น ๔


win-win

โดยแนวทางปฏิบัติ ภาระที่หนักอึ้งของการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้ถูกมองเหมือนกับ

ว่าเป็นการช่วยเหลือทุกฝ่าย ทราบให้ว่าสถานการณ์ฝ่ายของเขานั้นได้เปรียบ(Zero-sum)  หรือเพื่อจะให้ได้รับรู้ว่า มันอาจจะเป็นสถานการณ์ที่เสียหรือได้ เหมือนกันทั้งสองฝ่าย (non-zero-sum)

และช่วยเหลือแต่ละฝ่ายขับเคลื่อนในแนวทางทางที่เป็นประโยชน์ที่เอื้อแก่กันทั้งสองฝ่าย

ดังรูปที่แสดง บอกให้เราเข้าใจได้ว่ามีผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นมากมายของความขัดแย้งที่เกิด

ขึ้นระว่างเคนกับอาเบล

ตำแหน่งที่อยู่ขึ้นไปทางขวาเป็นสิ่งเป็นประโยชน์กับอาเบล

ตำแหน่งที่ขึ้นไปด้านบนเป็นประโยชน์กับเคน

เคนพบกับสถานการณ์zero-sum ณ ตำแหน่งที่ 1 เป็นผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

ตำหน่งที่ 2 เป็นตำแหน่งที่แย่ที่สุด แต่เป็นตำแหน่งที่ที่สุดสำหรับอเบล

ตลอดเส้น1 -2 ได้จัดตำแหน่งของความเท่าเทียม ที่ตำแหน่ง3 เป็นตำแน่งที่ประนีประนอม

แต่ก็จะมีตำแหน่งอื่นที่สามารถเกิดผลลัพธ์ของความพ่ายแพ้ทั้งคู่ หรือ ชนะทั้งคู่

นั่นเป็นสิ่งที่น่าสนใจและการรับรู้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง

ซึ่งพ่ายแพ้ทั้งคู่ เกิดขึ้นได้ ที่ตำแหน่ง 0 

และทั้งคู่ ได้รับผลชนะ ณ ตำแหน่งที่4 ถ้าแต่ละฝ่ายเกิดความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

 

                                                            (Hugh Miail et al 1999)

คำสำคัญ (Tags): #peace
หมายเลขบันทึก: 435913เขียนเมื่อ 19 เมษายน 2011 10:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 พฤษภาคม 2012 12:14 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่าน


ความเห็น

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท