16-20-0


ตัวเลขที่คุ้น ๆ

 

ตัวเลขสามตัวเลข ได้แก่ 16-20-0 เป็นตัวเลขที่แสดงสัดส่วนของธาตุไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โปแตสเซียม พิมพ์ติดข้างกระสอบ (ถุง) ปุ๋ย มีให้พบเห็นได้ทั่วไป ชินสายตา
ในช่วงร้อยปีที่มา ธาตุทั้งสามทำให้ภาคเกษตรสามารถผลิตได้อย่างพอเพียงต่อความต้องการของสังคม ตามการเพิ่มขึ้นของประชากรมากกว่าหกเท่า
แต่ที่สำคัญคือแหล่งที่มาของธาตุทั้งสาม
ไนโตรเจน มีแหล่งใหญ่ได้แก่อากาศของโลก
ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมมาจากการทำเหมือง
เท่าที่สามารถคำนวณได้ 
เราทราบว่าโลกของเรามีธาตุโปแตสเซียมสามารถทำการผลิตทางเกษตรไปได้อีกหลายร้อยปี
แต่ฟอสฟอรัสเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ประมาณว่าทั้งโลกมีฟอสฟอรัสทั้งสิ้น 24.3 พันล้านตัน ยังเหลือประมาณ 18 พันล้านตัน 
และเป็นแหล่งที่สามารถเข้าถึงได้สดวก ("easy" phosphorus) คำนวณว่าผลิตได้สูงสุด (Peak production) 
ในช่วงปี ค.ศ. ๑๙๙๐ (Ward, 2008) คาดการณ์ว่าอาจจะหมดไปได้ในปลายคริสต์ศตวรรษนี้ (ปี ค.ศ. ๒๑๐๐)
ส่วนแหล่งที่สามารถเข้าถึงได้ยาก ("hard" phosphorus) ต้องพัฒนาเทคโนโลยีอีกพอสมควรในการ
เข้าถึงและนำใช้เหมือนน้ำมัน 
ประเทศสหรัฐอเมริกาผลิตธาตุฟอสฟอรัสเป็นอันดับสองรองจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ประมาณร้อยละ ๑๙ ของปริมาณการผลิตทั้งโลก และมาจากเหมืองในเมือง Tampa มลรัฐฟอริดา
อาจจะผลิตได้อีกหลายทศวรรษ
ในขณะที่ประเทศมอร๊อดโค (Morocco) หรือที่รู้จักกันในชื่อว่าเป็น "Saudi Arabia of Phosphorus" 
หากจะทำการผลิตได้อย่างยั่งยืน ต้องหาวิธีการนำกลับมาใช้ใหม่ (recyclable phosphorus)
==========
อรรถชัย, Long Beach, CA, USA
อ่านเพิ่มเติม
http://www.imphos.org/ (World Phosphorus Institute: IMPHOS)
http://www.energybulletin.net/node/46386
Ward, J. 2008. (http://www.energybulletin.net/node/46386)

 


ตัวเลขสามตัวเลข ได้แก่ 16-20-0 เป็นตัวเลขที่แสดงสัดส่วนของธาตุไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โปแตสเซียม พิมพ์ติดข้างกระสอบ (ถุง) ปุ๋ย มีให้พบเห็นได้ทั่วไป ชินสายตา

ในช่วงร้อยปีที่มา ธาตุทั้งสามทำให้ระบบเกษตรสามารถผลิตได้อย่างพอเพียงต่อความต้องการของสังคม ตามการเพิ่มขึ้นของประชากรมากกว่าหกเท่า


แต่ที่สำคัญคือแหล่งที่มาของธาตุทั้งสามไนโตรเจน มีแหล่งใหญ่ได้แก่อากาศของโลกฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมมาจากการทำเหมือง

เท่าที่สามารถคำนวณได้ เราทราบว่าโลกของเรามีธาตุโปแตสเซียมสามารถทำการผลิตทางเกษตรไปได้อีกหลายร้อยปีแต่ฟอสฟอรัสเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ประมาณว่าทั้งโลกมีฟอสฟอรัสทั้งสิ้น 24.3 พันล้านตัน ยังเหลือประมาณ 18 พันล้านตัน และเป็นแหล่งที่สามารถเข้าถึงได้สดวก ("easy" phosphorus) คำนวณว่าผลิตได้สูงสุด (Peak production) ในช่วงปี ค.ศ. ๑๙๙๐ (Ward, 2008) คาดการณ์ว่าอาจจะหมดไปได้ในปลายคริสต์ศตวรรษนี้ (ปี ค.ศ. ๒๑๐๐)ส่วนแหล่งที่สามารถเข้าถึงได้ยาก ("hard" phosphorus) ต้องพัฒนาเทคโนโลยีอีกพอสมควรในการเข้าถึงและนำใช้เหมือนน้ำมัน 

ประเทศสหรัฐอเมริกาผลิตธาตุฟอสฟอรัสเป็นอันดับสองรองจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนประมาณร้อยละ ๑๙ ของปริมาณการผลิตทั้งโลก และมาจากเหมืองในเมือง Tampa มลรัฐฟอริดาอาจจะผลิตได้อีกหลายทศวรรษ

 

ในขณะที่ประเทศมอร๊อดโค (Morocco) หรือที่รู้จักกันในชื่อว่าเป็น "Saudi Arabia of Phosphorus" 

 

หากจะทำการผลิตได้อย่างยั่งยืน ต้องหาวิธีการนำกลับมาใช้ใหม่ (recyclable phosphorus)

==========อรรถชัย, Long Beach, CA, USA

อ่านเพิ่มเติม

http://www.imphos.org/ (World Phosphorus Institute: IMPHOS)

http://www.energybulletin.net/node/46386

Ward, J. 2008. (http://www.energybulletin.net/node/46386)

http://en.wikipedia.org/wiki/Phosphorus

http://en.wikipedia.org/wiki/Bone_Valley

หมายเลขบันทึก: 405492เขียนเมื่อ 30 ตุลาคม 2010 18:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 11:33 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท