สิทธ
นาย สิทธิชัย สิทธ ช่วยสงค์

เศรษฐกิจพอเพียง


ชีวิตที่เป็นสุข

เศรษฐกิจพอเพียง

นางน้อย   นาทอง

บ้านเลขที่  127 หมู่ที่  11 ตำบลท่าอุแทอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 

โทรศัพท์  080-5229951

.............................................

ชื่อ                   นางน้อย   นาทอง

อายุ                  40        ปี

การศึกษา         ประถมศึกษา ปีที่ 4

สถานภาพ       สมรสกับ นายวินัย  นาทอง       อายุ  41  ปี   มีบุตร  3   คน

ที่อยู่                 127  หมู่ที่ 11  ต.ท่าอุแท  อ.กาญจนดิษฐ์  จ.สุราษฎ์ธานี

โทรศัพท์          089-7515477

วิสัยทัศน์ในการทำงาน   

-        ลดรายจ่าย  เพิ่มรายได้

-        หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี

-        ขยายผลสู่เกษตรกรข้างเคียง

ลักษณะเด่น    

            มีความเป็นผู้นำ  เสียสละ  ขยันขันแข็ง  และมีการศึกษาหาความรู้

คติประจำใจ

            มุ่งมั่น   ขยัน   อดทน

ผลงานดีเด่น

  1. วิทยากรถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
  2. เกษตรตัวอย่างประเภทมีที่ดินน้อย  (ไม่เกิน  10  ไร่)  ปี 2547 จาก  สปก.

ตำแหน่งปัจจุบัน                    

-        กรรมการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปุ๋ยหมักรักสิ่งแวดล้อม

-        สมาชิกกลุ่มแม่บ้าน  และ อสม.

 

ข้อมูลทั่วไป

พื้นที่ปลูก    ไร่นาสวนผสม (เศรษฐกิจพอเพียง)     5  ไร่

ไม้ผลไม้ยืนต้น

  • มะพร้าว        100   ต้น
  • สะตอ            40   ต้น
  • มังคุด              4   ต้น
  • ละมุด              4   ต้น
  • ส้มโอ             10   ต้น
  • กระท้อน         10   ต้น
  • เงาะ                6   ต้น
  • ขนุน              10   ต้น
  • ส้มเขียวหวาน   10   ต้น
  • มะม่วง            40   ต้น

 

พืชผัก

  • ดำเนินการปลูกพืชผัก เช่น ชะอม  คะน้า  ผักกาดขาว  ผักชี  ต้นหอม  ผักหวาน  ยอดเลียบ  เม็ดชุน และน้ำเต้า

 

เลี้ยงปลาในสระน้ำ

  • ปลาจาระเม็ดน้ำจืด   ปลานิล   ปลาทับทิม  ปลาช่อน  และปลาสวาย

 

เลี้ยงสัตว์

  • สุกร           จำนวน                        20        ตัว

การถ่ายทอดความรู้

  • เป็นวิทยากรเสริมด้านเศรษฐกิจพอเพียงและถ่ายทอดประสบการณ์ไร่นาสวนผสมให้แก่เกษตรกรที่มาศึกษาดูงานในพื้นที่

แหล่งน้ำ

  • สระน้ำ       ขนาด   1          ไร่

ประโยชน์ที่ได้รับ

  • ประโยชน์ด้านการเกษตร ตามไร่นาสวนผสม (เศรษฐกิจพอเพียง)     ที่มีการแบ่งพื้นที่ดูความสัมพันธ์ในการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการใช้น้ำเพื่อการเกษตร    ที่มุ่งใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม   และเกิดประโยชน์สูงสุด โดยใช้ปุ๋ยหมัก  ปุ๋ยพืชสด  น้ำหมักชีวภาพ ทำให้เกิดรายได้ และมีการพัฒนาเป็นจุดเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรที่มีเกษตรกรผู้ที่สนใจ  เจ้าหน้าที่  และสื่อมวลชน     เข้าไปศึกษาดูงานขยายผลได้ในระดับที่น่าพอใจมาก
  • มีการใช้แรงงานในครัวเรือนอย่างมีประสิทธิภาพ   มีแรงงานในครัวเรือน 3  คน
  • จากผลการดำเนินงานทำให้มีรายได้ เฉลี่ยประมาณเดือนละ 10,000 – 20,000 บาท

จุดเด่น

  1. จดบันทึกเหตุการณ์  วิธีการต่างๆ  และรายรับ – รายจ่ายทั้งหมด
  2. ศึกษาหาความรู้ตลอดชีวิต
  3. ให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
  4. เป็นวิทยากรเกษตรถ่ายทอดความรู้ เรื่อง ไร่นาสวนผสม (เศรษฐกิจพอเพียง)
  5. เป็นแหล่งศึกษาดูงานของเกษตรกร/นักศึกษา/หน่วยงานราชการ และผู้สนใจทั่วไป
  6. เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์  สุจริต  มีความน่าเชื่อถือแก่บุคคลทั่วไป
  7. รณรงค์ให้ชาวบ้านบริโภคผักปลอดสารพิษและส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
  8. การเลี้ยงสุกร ใช้วิธีการผสมอาหารเอง ซึ่งสามารถลดต้นทุนการผลิตได้มาก
  9. ราคาผลผลิตตกต่ำ
  10. ปัจจัยการผลิตราคาแพง เช่น วัสดุ  ปุ๋ย  ยา  และอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง

ปัญหา/ผลกระทบที่เกิดขึ้น

  1. ราคาผลผลิตตกต่ำ
  2. ปัจจัยการผลิตราคาแพง เช่น วัสดุ  ปุ๋ย  ยา  และอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง

นายศุโข  อ่อนนวล  ประธานศูนย์ฯ ต.ท่าอุแท

ตรวจเยี่ยมศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

นายสิทธิชัย  ช่วยสงค์

นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ

 สำนักงานเกษตรอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    โทร. 08-9963-3078, 0-7737-9013

   22 ตุลาคม 2553

หมายเลขบันทึก: 404141เขียนเมื่อ 22 ตุลาคม 2010 19:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 พฤษภาคม 2012 14:28 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ไม่น่าเชื่อว่าเกษตรกรจะจบการศึกษาแค่ป.4 การศึกษาไม่ใช่เรื่องใหญ่สำหรับเกตรกร แต่ทีสำคัญกว่าก็คือใจรักและการมุ่งมั่นที่จะพัฒนาอาชีพตัวเอง สนับสนุนคนเก่งด้วยคน ขอบคุณที่นักส่งเสริมการเกษตรเรานำจุดดีของเกษตรกรมาตีแผ่ในแง่มุมที่น่าสนใจ สะท้อนสังคมอย่างยิ่ง

  • คุณน้อย ยังรัวเป็นชุดๆ เหมือนเดิมรึเปล่า คับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท