การเรียนรู้แบบ M-Learning จะสอนอย่างไร


M-learning how to M-teach

     จากการศึกษางานวิจัยของ J.P. Baggaley  Athabasca University, Alberta ซึ่งในบทคัดย่อได้กล่าวถึง การเรียนผ่านโทรศัพท์เป็นวิธีการที่มีประโยชน์สำหรับนักเรียนที่อยู่ห่างไกล  อย่างไรก็ตาม m-leaning จะไม่สามารถเข้าใจถ้าผู้สอนไม่เรียนรู้ถึง m-teach ปัญหาสำหรับนักเรียนที่ศึกษาทางไกลก็คือการขาดประสบการณ์  วิธีทางโทรศัพท์เป็นอีกวิธีหนึ่งในการศึกษาทางไกลมาตรฐานการเชื่อมต่อสัญญาเป็นสิ่งที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ   ความสำคัญของการพัฒนาโปรโตคอลเกี่ยวกับสังคมและความร่วมมือของผู้ใช้เครื่องมือ m online

     J.P. Baggaley ได้กล่าวถึงการเรียนการสอนบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ไว้ว่า เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ถูกนำมาใช้ในการพัฒนามากขึ้นในการศึกษาทางไกล(Keegan,2002)การบริการ shot messaging (SMS) สามารถนำเข้ามาเป็นเครื่องมือในการนำส่งเนื้อหา  ขณะที่ digital เป็นเครื่องช่วยนักเรียนในเรื่องของวีดีโอและข้อมูลสารสนเทศกับครูและนักเรียน  ใน Asian ได้มีการริเริ่มเทคโนโลยีทางการศึกษา  ได้มีการอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่และโปรแกรมมากมาย  ในมหาวิทยาลัยเปิดของประเทศอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์  ซึ่งตรงข้ามกับอเมริกาเหนือได้มีการใช้เทคโนโลยีกันอย่างกว้างขวาง  ซึ่งอัตราค่าโทรศัพท์ไม่แพง  การศึกษาของชาวอเมริกันเป็นการศึกษาทางไกลแบบ one on one การสอบผ่านโทรศัพท์ใช้ e-mail และข้อความแต่มีความเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยระหว่างครูและนักเรียน            ใน Asian เทคโนโลยีทางโทรศัพท์มีความแตกต่างมากในด้านเนื้อหาเมื่อแทบกับอเมริกาเป็นต้นในมหาวิทยาลัยเมกะของชาวอินเดีย สำหรับการศึกษาทางไกลในอเมริกามีข้อจำกัดมากในแง่ text based teaching ผู้วิจัยสามารถเปรียบเทียบราคาและความเร็ววิธีการเข้าลงโปรแกรมในวิชาระหว่างนักศึกษาในอาเซียนกับนักศึกษาในแคนาดา            การเชื่อมต่อโทรศัพท์ไร้สายและอินเตอร์เน็ตสามารถทำได้ทุกหนทุกแห่งและก็มีหลายราคาและประสิทธิภาพการเชื่อมต่อก็ขึ้นอยู่กับราคา  ซึ่งเป็นเหตุผลหลักของปัญหาเหล่านี้คือการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิคส์            ไม่ว่าเอเชียหรือในยุโรป ได้มีการใช้  voice over internet protocol  ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีราคาสูงในระหว่าง 4 ปีที่ผ่านมา  ประเทศแคนาดาจะมีประชากรที่เข้าใจ  m-learning  มากกว่าประชากรในประเทศฟิลิปปินส์  และมีการส่งข่าวสารผ่าน  cell phone  เฉลี่ยวันละ 7 ข้อความต่อวัน  เช่นเดียวกับคนในสังคมทั่วไปที่ไม่นำเทคโนโลยีมาใช้กันอย่างกว้างขวาง  ปัจจุบันในมหาวิทยาลัยที่ประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการบังคับให้ติดตั้งโทรศัพท์เพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียน  Google  ได้มีเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับ m-learning  ว่ามีความสำคัญกว่า  m-teaching  ซึ่งสถาบันการสอนระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและแคนาดา  ได้มีการพัฒนาการสอนโดยใช้ e-mail  web-based text conferencing  และประเทศภูฎานได้มีการติดต่อระหว่างครูกับนักเรียนผ่านเทคนิคข่าวสารแทนที่ e-mail  โดยการส่งผ่านทาง  Yahoo  แต่ก็มีปัญหาในเรื่องที่ว่าครูไม่สามารถรู้ว่าผู้เรียนพอใจหรือไม่พอใจเกี่ยวกับการผ่าน e-mail  และวิธีการ  asynchronous  ก็ได้ถูกตัดออกจากการเรียนการสอนผ่านทางโทรศัพท์

            ในการเชื่อมต่อเพื่อส่งข้อมูลวิชาจะต้องใช้การส่ง e-mail  ซึ่งมีอัตราการส่งมากกว่า  2,000  และมากกว่า  13 สัปดาห์  เพื่อที่ข่าวสารต่างจะสนองความต้องการของผู้เรียนอย่างเพียงพอและในการเชื่อมต่อซึ่งใช้เวลานานในการดาวโหลดข้อมูล  จึงทำให้เกิดในเรื่องระยะเวลาของแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ

     บทสรุปก็คือ

เมื่อไม่นานในประเทศ Asian 12 ประเทศมีการใช้โทรศัพท์สำหรับศึกษาทางไกลโดยใช้เทคโนโลยีทางโทรศัพท์ เช่น  e-mail  WBT และเราก็ใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อการเรียนการสอนกันบ้างแล้วโดยไม่รู้ตัว

แล้วท่านทั้งหลายคิดเหมือน krutuk ไหมคะ ถ้ามีข้อเสนอแนะก็ขอน้อมรับด้วยความยินดีนะคะ

 
หมายเลขบันทึก: 37226เขียนเมื่อ 5 กรกฎาคม 2006 14:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 09:20 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ในแนวทางการวิจัยของคุณ krutuk จะ Focus ในส่วนไหนคะ ในการเรียนการสอนใน M-learning  มีจุดใดบ้างที่แตกต่างจากที่มีอยู่ในปัจจุบันคะ   เช่น ทางด้านเทคโนโลยีที่นำมาใช้ หรือในด้านใดคะ..ขอบพระคุณคะ...

นิวอยากให้คุณ krutuk  เข้ามาใน blog บ่อย ๆ คะ..จะได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและคะ..แต่อาจจะงานยุ่งก็ได้...(หวังจะได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับนักศึกษาปริญญาเอกเทคโนโลยีและสื่อสารฯ คะ....) จริง ๆแล้วนิวก็เกือบได้ไปเรียนที่ม.นเรศวร รุ่นเดียวกับคุณ krutuk แล้วนะคะ...อิอิ...แต่มหาวิทยาลัยฯ ของนิวที่นิวได้รับทุนเค้าต้องการทางด้าน IT นิวก็เลยเลือกเรียน IT คะ...แต่มันก็ไม่ต่างกันหรอก เพราะมันเป็นนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสนับสนุนการเรียนการสอนด้วย (ส่วนหนึ่ง) คะ ขอบพระคุณคะ...

 

น้องนิว

..จริง ๆ แล้วงานวิจัยของนิวเอง ก็ยังไม่ค่อยชัดเจนเท่าไหร่คะ ?? นิวมี Concept ในหัวข้อวิจัย ดังนี้คะ  ซึ่งหัวข้อดังกล่าว ยังไม่ชัดเจนหรอกคะ  ?? เพียงแต่นิวอยากแลกเปลี่ยนมุมมองในงานวิจัยของนิว...ว่างานวิจัยของนิวเป็นแบบนี้ คุณ krutuk  มีข้อแนะนำอย่างไรคะ...ซึ่งในงานวิจัยของนิว...สิ่งที่จะได้มาคือ Engin / Framework และ Algorithm ในการตอบสนองผู้เรียนให้สามารถเรียนได้ตามความต้องการของผู้เรียนเอง  โดยระบบ จะวิเคราะห์เนื้อหาแล้วส่งผล( Adaptive) ไปให้ผู้เรียนแต่ละคนตามระดับความรู้/ ความชอบหรือความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน..(เพราะผู้เรียนแต่ละคนแตกต่างกันไงคะ  เป้าหมายการเรียนก็แตกต่างกัน..).เพราะฉะนั้นสิ่งที่ระบบจะต้องวิเคราะห์ก็จะประกอบไปด้วยหลาย ๆ อย่างเช่น   ความรู้พื้นฐาน  /  ความชอบ / สื่อต่างๆ  ที่ผู้เรียนจะเลือกใช้  ..และตัวระบบฯจะใช้ Algorithm เป็นตัวหยิบเนื้อหาออกไปให้กับผุ้เรียนแต่ละคนตามลักษณะของผู้เรียนแต่ละคน(ซึ่งมันคงไม่ใช่ IF Then Else ธรรมดา)   เพราะฉะนั้นจะต้องมีการเก็บฐานข้อมูลของผู้เรียนเอาไว้ เพื่อทำการ  Adaptive  เนื้อหาออกไป(ซึ่งมันจะต้องมีการ วน Loop เพื่อเก็บลักษณะของผู้เรียนจนแน่ใจ) จึงทำการ Adaptive เนื้อหาออกไป  ซึ่งจะทำให้  E-leaning  มีความเป็น  AI  มากขึ้นคะ....แต่ตอนนี้ยังไม่สรุปว่าจะเป็นอย่างไรต่อไปนะคะ..นี่คือแนวคิดจากการอ่านวิจัย  แล้วนำมาผสมผสานกันเป็นแนวคิดสำหรับงานวิจัยของนิวคะ....ซึ่งนิวกำลัง "ขายฝัน" อยู่คะ ตอนนี้  อิอิ...

mLearning

การจะเข้าใจ mLearning ต้องเข้าใจคำว่า Mobility ซื้ง ถ้าเข้าใจธรรมชาติของคำคำนี้ก็จะเข้าใจบริบทของ mLearning ซึ่งโทรศัพท์มือถือเป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งภายในเท่านั้น หรือที่เราเข้าใจกันว่ามันเป็นเพียงเครื่องมืออย่างหนึ่งเท่านั้น มันไม่ใช่ทั้งหมดของ mLearning

 

สำหรับเรื่อง Scorm นั้นก็มาตราฐานเดียวกันล่ะครับ ต่างกันก็ตรง Device ที่นำมาใช้เท่านั้นเอง การพัฒนาบทเรียน ให้รองรับ scorm นั้นก็ต้องใช้ application ตัวเดียวกันอย่าง xml ได้ ดังนั้นจึงไม่มีปัญหาในการนำไปใช้ในลักษณะที่ต่างรูปแบบกัน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท