Buddhist Seminar in Vesak Day 2010


Global Recovery : Buddhist Perspective

Conclusion  of Buddhist Seminar in the Celebration  of  Visak  Day 2010

At the  Office  of  United  Nations, Bangkok.

 

The  environmental  crisis  is  a  very  important  and  challenging  problem  for  the  survival  of  human  being  who  make  the  crisis  themselves.  As  they  put  an  effort  to  develop  their  countries  focusing  on  Capitalism in  economic  system,  they  become  more  crazy  and  lack  of  wisdom  for  sustainable  development.  This  wrong  development  leads  the  world  to  the  crisis  of  environment. 

 1. Environment  is  said  in  many  features  in  Buddhism  such  as  natural  environment,  human  environment  and  social  environment.  In  human  and  natural    environmental  aspect,  Buddhism  stress  “friend”  as  an  important  environment  for  human.  To  analyze  human  and  environment  relationship,  basis  guide  is  the  view  of  ‘who  have  an  effect  on  whom’  according  to  Idappaccayatā.  Besides,  environmental  observation  show  the  view  of  cause  and  effect  between  human  and  environment,  root  of  environmental  problems  and  solutions. 

             2. The  objective  of  Buddhist  ecology  is  promotion of  the  relationship  between  human  and  natural  resources,  and  the  value  of  natural  resources. If  we  want  to  solve  the  crisis,  we  have  to  solve  at  ourselves  first  by  to  make  a  clearly  understanding  about  “Value”  to  be  as  a  human’s  conscious  mind.  When  we  understand  the  value  of  nature, we  will  ready  to  change  our  negative  behavior  in  nature,  we  will  maintain  our  own  same  as  the  natural  still  keep  its  own  value  forever  and  never  change.

3. On  the  conflict  in  society  today, people  receive  different  information  without  clear  consideration,  and  they  have  different  thoughts  and  views. If one  keep  Sammaditthi  in  mind,  one  can  consider  clearly  it  according  to  factual  information  without  any  prejudice.  In  Buddhism,  Sammaditthi  is  to  think  of  things  as  they  really  are  without  any  prejudice. This  is  the  resolving  of  problem  according  to  its  own  causes.   The  mere  right  thought  has  great  power  to  decrease  the  intensity  of  conflict  and  take  the  world  into  peace  and  happiness  forever.

4. The  management  of  violence  in  terms  of  prevention, resolution  and  therapy  through  Buddhist  integration  is  a  desirable  goal  for  the people  in  era  of  Globalization.  In  the  Buddhism, society  is  the  same  global  village  which  can  live  together  in  peace,  and  with  understanding,  sympathy  and  the absence  of  physical  and  mental  violence  through : acceptance  of  personal  responsibility  according  to  individual    status : the  cultivation  of  loving  kindness,  compassion.   

5.  Hence, Theravada  Buddhism  maintains  monism  which  realizes  that  the  absolute  truth  is  Nibbāna  it  also  acknowledges  pluralistic  views  on  humanistic  center  in  the  order  to  explain  that  the  stereotype  of  monastic Nibbāna  must  be  understood  along  with  the  main  idea  which  acknowledges  that  every  human  deed  consists  of  variety  of  sub-dhammic  truths  under  the  meaning  of  Idappaccayata  within  individual  circumstances.    

6. The  world  now  lies  in  the  midst  of  the  variance.  Education  seemed  to  be  defendant  of  the  society  as  a  whole  upon  its  inability  to  provide  guidance. Education  must  not  only  promote  the  development  of  the  physical  term  that  measures  in  economic  only  (GDP : Gross  Domestic  Product)  but must  focus  on  the  development  of  the  soul  (GDH : Gross  Domestic  Happiness) as  well,  or  be  directed  abreast,  as  Buddhadasa  Bhikkhu  named  it  “to  imitate  life  with  two  cows”  which  means  “to  both  the  body  and  soul”

 

การฟื้นฟูวิกฤติการณ์ของโลกตามทัศนะของชาวพุทธ

 

วิกฤติการณ์ทางสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อความอยู่รอดของมนุษยชาติผู้ซึ่งสร้างปัญหาขึ้นด้วยตนเอง ในขณะที่พวกเขาพยายามพัฒนาประเทศโดยมุ่งเน้นระบบเศรษฐกิจแบบวัตถุนิยมและทุนนิยม พวกเราจึงสับสนและขาดปัญญา สำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ผิดพลาดนี้ได้นำโลกไปสู่วิกฤติการณ์ทางสิ่งแวดล้อม

            ในพระพุทธศาสนา สภาวะแวดล้อมมีหลายลักษณะ อย่างเช่น สภาวะแวดล้อมทงธรรมชาติ สภาวะแวดล้อมที่เป็นมนุษย์และสภาวะแวดล้อมทางสังคม ในส่วนของสภาวะแวดล้อมด้านมนุษย์และธรรมชาติ พระพุทธศาสนากล่าวถึง “ความเป็นมิตร” ในฐานะที่สภาวะแวดล้อมมีความสำคัญต่อมนุษย์ การวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม แนวทางพื้นฐาน คือ แนวคิด “ความเป็นเหตุปัจจัยของกันและกัน” ตามหลักอิทัปปัจจยุตา การรักษาสภาวะแวดล้อมแสดงถึงทัศนะของในเรื่องของสาเหตุและผลกระทบระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รากเหง้าของปัญหาและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

                วัตถุประสงค์ของนิเวศวิทยาเชิงพุทธ เป็นการนำเสนอความสัมพันธ์ทรัพยากรด้านมนุษย์และธรรมชาติและคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา ถ้าเราต้องการแก้วิกฤติการณ์ เราจะต้องแก้ที่ตัวเราก่อนโดยการเข้าใจอย่างแจ่มชัดเกี่ยวกับ “คุณค่า” ที่เป็นจิตรับรู้ของมนุษย์ เมื่อเราเข้าใจคุณคาของธรรมชาติ เราก็พร้อมที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงลบของเราต่อธรรมชาติ เราจะมองตัวเองในฐานะส่วนหนึ่งของธรรมชาติ กระทั่งรักษาคุณค่านี้เองตลอดไปไม่เปลี่ยนแปลง

                ในสังคมปัจจุบันมีความขัดแย้งมากมาย เพราะว่าประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารต่างๆ โดยปราศจากการพินิจพิจารณา ทำให้เกิดความคิดเห็นที่แตกต่าง

                ถ้าเรารักษาสัมมาทิฏฐิในจิตใจ เราสามารถพิจารณาข้อมูลข่าวสารความเป็นจริงโดยปราศจากอคติ ในพระพุทธศาสนา สัมมาทิฏฐิ คือการมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงโดยปราศจากอคติ เพราะฉะนั้น เมื่อทุกคนมีสัมมาทิฏฐิก็จะมีความเห็นที่ถูกต้อง ซึ่งจะทำให้เกิดสามัคคีเห็นร่วมกันและลดจำนวนความขัดแย้งทางสังคมนี้เป็นการแก้ปัญหาที่ตัวสาเหตุเอง ความคิดที่ถูกต้องเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่จะลดความขัดแย้ง และนำโลกไปสู่สันติภาพและความสุข

การจัดการกับความรุนแรงในรูปแบบของความร่วมมือ, การปฏิรูป และความปรองดองการบูรณาการเชิงพุทธเป็นเป้าหมายที่พึงปรารถนาสำหรับประชาชนในยุคโลกาภิวัตน์ ในทัศนะของพระพุทธศาสนา สังคมเป็นหมู่บ้านเดียวกันซึ่งสามารถจะอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติด้วยความเข้าใจ เอื้ออาทรปราศจากความรุนแรงทางด้านกายและจิตใจ การยอมรับเกียรติภูมิตามสถานภาพของแต่ละบุคคล ความรักความเมตตาและความกรุณา

แม้ว่าพระพุทธศาสนาเถรวาทจะเป็นเอกนิยม ซึ่งเข้าถึงความจริงที่เป็นความจริงสูงสุด คือ พระนิพพาน แต่มีทัศนะเชิงพหุนิยมที่มนุษย์เป็นศูนย์กลาง ที่จะอธิบายได้ว่า นิพพานเชิงนิยมจะต้องเข้าใจด้วยแนวคิดหลักว่า การกระทำของมนุษนย์ทุกอย่างประกอบด้วย ธัมมานุธรรมะ ความใต้ความหมายของ อิทัปปัจจยตา ภายในความโน้มเอียงของแต่ละบุคคล ทัศนะนี้ประกอบไปด้วยความหลากหลายขององค์ธรรมไม่ว่าจะเป็นอริยสัจ๔,ไตรลักษณ์ และไตรสิกขา

โลกปัจจุบันยืนอยู่บนท่ามกลางความแตกแยก การศึกษาถูกสังคมตำหนิในฐานะที่ไม่สามรถเป็นตัวชี้นำ อย่างเช่น ภูมิความรู้ของนักศึกษา ความคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับความชั่วความรู้ตัวเองต่อชีวิตที่ดีละมีความสุข การศึกษาที่ต้องไม่มุ่งไปที่การพัฒนาด้านกายภาพที่ตอบสนองด้านเศรษฐกิจเท่านั้น แต่จะต้องมุ่งไปที่พัฒนาการทางจิตอย่างที่ท่านพุทธทาสภิกขุ เรียกว่า “ชีวิตที่เทียบด้วยโคสองตัว” ซึ่งหมายถึง “พัฒนาการทั้งทางร่างกายและจิตใจ

หมายเลขบันทึก: 366890เขียนเมื่อ 16 มิถุนายน 2010 12:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 14:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ขอบคุณใจมากที่สรุป และนำผลการสัมมนามาฝากพวกเรา

กราบขอบพระคุณพระอาจารย์มากครับ ที่โพสต์ให้กำลังใจ

บทสรุปนี้ได้มาจากการจัดสัมมนาเชิงวิชาการในวันที่ 24 พ.ค. 2553 ในงานเฉลิมฉลองวิสาขบูชาโลก ที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยสรุปจากการนำเสนอบทความของ 11 นักวิชาการไทย ในหัวข้อ Golbal Recovery : Buddhist Perspective และถูกนำไปกล่าวรายงานผลการสัมมนาต่อผู้เข้าร่วมประชุมที่สำนักงานสหประชาติ กรุงเทพฯ ในวันที่ 25 พ.ค. 2553 เป็นการนำเสนอทางออกจากวิกฤติการณ์โลกตามทัศนะของพระพุทธศาสนา

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท