รายงานการวิจัยในชั้นเรียน


โพสต์เมื่อ : 18 เม.ย. 2553 21:22 น.

 

  รายงานการวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง การอ่าน

สภาพปัญหา

การอ่านภาษาไทยเป็นทักษะพื้นฐานที่สำคัญของผู้เรียน ผู้เรียนจะมีสัมฤทธิผลทางการเรียนได้ก็ต่อเมื่อได้พัฒนาทักษะทั้ง 4 ควบคู่ไปด้วยกัน จากการสังเกตเหตุผลที่นักเรียนไม่ประสบความสำเร็จในการเรียนภาษาไทย เนื่องจากผู้เรียนละเลย ไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการอ่านครูผู้สอนจึงควรหากลวิธีทำให้เด็กหันกลับมาสนใจทักษะการอ่านเพิ่มมากขึ้นดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นควรนำเรื่องการอ่านมาทำวิจัย

จุดประสงค์การวิจัย

แทรกนิสัยรัให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญ เล็งเห็นถึงประโยชน์และมีเจตคติที่ดีต่อการอ่าน สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและสอกการอ่านในกิจกรรมที่จัดขึ้น

ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรต้น คือ ชุดฝึกทักษะการอ่าน

ตัวแปรตาม คือ จำนวนคำที่อ่านได้

ข้อคิดที่ได้จากการวิจัย

จากการทำวิจัย เรื่องการอ่านในครั้งนี้ สามารถฝึกให้นักเรียนจำนวนหนึ่งที่มีปัญหาด้านการอ่านสะกดคำภาษาไทยได้พัฒนาการอ่านและรู้จักตัวสระ พยัญชนะได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งส่งผลให้นักเรียนกลุ่มที่ได้วิจัยมีพัฒนาการในการเรียนวิชาภาษาไทยและวิชาอื่นๆ ได้ดีขึ้น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนสามารถพัฒนาด้านการอ่านสะกดคำ รู้จักสระและตัวพยัญชนะได้ดีขึ้น และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ขอบเขตของการวิจัย

ใช้นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 2/4 จำนวน 1 คน นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 2/5 จำนวน 1 คน ใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านสะกดคำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน

จัดเตรียมเอกสารแบบฝึกทักษะการอ่าน

จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยขอความร่วมมือจากห้องสมุดโรงเรียน

ทดสอบทักษะการอ่าน

ตรวจสอบความก้าวหน้าและพัฒนาการทักษะการอ่านจากแบบฝึกทักษะการอ่าน

รวบรวมและสรุปผลการวิจัยเพื่อนำเสนอ

ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา

แบบฝึกทักษะการอ่าน

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบทดสอบชุดที่ 1

**************************************************************************************

ให้อ่านพยัญชนะต่อไปนี้

ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ

ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ

ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม

ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ

แบบฝึกหัดชุดที่ 2

*************************************************************************************

คำสั่งให้นักเรียนอ่านสระต่อไปนี้

-ะ อ่านว่า สระ อะ อำ อ่านว่า สระ อำ

-า อ่านว่า สระ อา ใ- อ่านว่า สระ ไอไม้ม้วน

อิ อ่านว่า สระ อิ ไ- อ่านว่า สระ ไอไม้มลาย

อี อ่านว่า สระ อี เ อี ยะ อ่านว่า สระ เอียะ

อุ อ่านว่า สระ อุ เ-อ อ่านว่า สระ เออ

อู อ่านว่า สระ อู เ-อะ อ่านว่า สระ เออะ

เ- อ่านว่า สระ เอ โ-ะ อ่านว่า สระ โอะ

เ-ะ อ่านว่า สระ เอะ โ- อ่านว่า สระ โอ

เ-า อ่านว่า สระ เอา -อ อ่านว่า สระ ออ

เ-าะ อ่านว่า สระ เอาะ เ อื อ อ่านว่า สระ เอือ

เ อี ย อ่านว่า สระ เอีย อัว อ่านว่า สระ อัว

อึ อ่านว่า สระ อึ

อือ อ่านว่า สระ อือ

แ-ะ อ่านว่า สระ แอะ

แ- อ่านว่า สระ แอ

แบบทดสอบชุดที่ 3

จงอ่านคำต่อไปนี้

มีด
 รีดไถ
 นิ้วชี้
 พี่น้อง
 
ปีก
 ซีด
 ฉีดยา
 ดีด
 
คีม
 ซีก
 จีบ
 ***บ
 
รีบ
 จีน
 ปีน
 สินค้า
 
ชะนี
 หมี
 ชีดเส้น
 จำปี
 
จิ้งหรีด
 บีบ
 ดีใจ
 มีตา
 
ผีดุ
 สีดำ
 เป่าปี่
 ปีนี้
 
ชุลี
 หนี
 ผักชี
 ยินดี
 
กรีด
 กลีบ
 ครีบปลา
 ชีวิต
 
ที่นี้
 จี้
 ตี
  
       
       

 

 

 

 

 

 

 

แบบทดสอบชุดที่ 4

จงอ่านคำต่อไปนี้


กาน้ำ
 งาช้าง
 ฝาชี
 หน้าต่าง
 
ปลาทู
 นาฬิกา
 ดาว
 จาม
 
ปากกา
 ป้าย
 ยาถ่าย
 ลาหาย
 
หญ้าคา
 ต่างจาก
 วาดภาพ
 คลาน
 
แม่ค้า
 หมาเห่าม้า
 อาหารปลา
 ตามานา
 
ยากมาก
 ป้าตามอา
 กราบพระ
 พายเรือ
 
จานชาม
 ตาทาสี
 หล้าว่ายน้ำ
 พยาธิ
 
บาดหมาง
 ขาดเรียน
 ถาดข้าว
 สาว
 
ก้ามปู
 นาน
 ขาด
 ยาย
 
บ้าน
 ดาบ
 จาม
 หาง
 
สาม
 บาง
 หนา
 สาย
 
หมาย
 ส่าย
 บาน
 การบ้าน
 
ภาษาไทย
 มะขาม
 มะนาว
 ผักกาด
 
ข่า
 คะน้า
 สะพาน
 สบาย
 


 

 

 

 

 

แบบบันทึกพฤติกรรมการอ่าน

ชื่อ เด็กชายพงศ์ศิริ ปั้นประสงค์ ชั้น ป.2/4

ครั้งที่
 จำนวนพยัญชนะ - สระ
 อ่านได้
 อ่านไม่ได้
 
1
 44 ตัว ก – ฮ
 43
 1
 
2
 44 ตัว ก – ฮ
 43
 1
 
3
 44 ตัว ก – ฮ
 44
 -
 
4
 15 ตัว -ะ - แ-
 12
 3
 
5
 15 ตัว -ะ - แ-
 13
 2
 
6
 11 ตัว อำ - อัว
 6
 5
 
7
 11 ตัว อำ - อัว
 8
 3
 
8
 11 ตัว อำ - อัว
 6
 5
 
9
 26 ตัว -ะ - อัว
 22
 4
 
10
 26 ตัว -ะ - อัว
 22
 4
 
11
      
12
      
13
      
14
      
15
      

 

 

แบบบันทึกพฤติกรรมการอ่าน

ชื่อ เด็กชายพงศ์ศิริ ปั้นประสงค์ ชั้น ป.2/4

ครั้งที่
 จำนวนพยัญชนะ - สระ
 อ่านได้
 อ่านไม่ได้
 
1
 12
 9
 3
 
2
 12
 10
 2
 
3
 8
 8
 -
 
4
 20
 18
 2
 
5
 20
 16
 4
 
6
 12
 9
 3
 
7
 8
 5
 3
 
8
 15
 10
 5
 
9
      
10
      
11
      
12
      
13
      
14
      
15
      

 

 

 

ผลการอ่าน พยัญชนะ จำนวน 44 ตัว

สรุปผลได้ดังนี้

ด.ช. พงษ์ศิริ ปั้นประสงค์

ครั้งที่ 1 จำนวนพยัญชนะ 44 ตัว

จำนวนตัวที่อ่านได้ 43 ตัว คิดเป็นร้อยละ 97.72

ครั้งที่ 2 จำนวนพยัญชนะ 44 ตัว

จำนวนตัวที่อ่านได้ 43 ตัว คิดเป็นร้อยละ 97.72

ครั้งที่ 3 จำนวนพยัญชนะ 44 ตัว

จำนวนตัวที่อ่านได้ 44 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100

 

ผลการอ่าน สระ จำนวน 26 ตัว

สรุปผลได้ดังนี้

ครั้งที่ 1 จำนวน 15 ตัว

จำนวนตัวที่อ่านได้ 12 ตัว คิดเป็นร้อยละ 80.00

ครั้งที่ 2 จำนวน 15 ตัว

จำนวนตัวที่อ่านได้ 13 ตัว คิดเป็นร้อยละ 86.66

ครั้งที่ 3 จำนวน 11 ตัว

จำนวนที่อ่านได้ 6 ตัว คิดเป็นร้อยละ 54.54

ครั้งที่ 4 จำนวน 11 ตัว

จำนวนที่อ่านได้ 11 ตัว คิดเป็นร้อยละ 72.72

ครั้งที่ 5 จำนวน 11 ตัว

จำนวนที่อ่านได้ 6 ตัว คิดเป็นร้อยละ 54.54

ครั้งที่ 6 จำนวน 26 ตัว

จำนวนที่อ่านได้ 22 ตัว คิดเป็นร้อยละ 84.61

ครั้งที่ 7 จำนวน 22 ตัว

จำนวนที่อ่านได้ 22 ตัว คิดเป็นร้อยละ 84.61

ผลการอ่านคำ จำนวน 92 คำ

สรุปผลได้ดังนี้

ครั้งที่ 1 จำนวน 12 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 9 คำ คิดเป็นร้อยละ 75.00

ครั้งที่ 2 จำนวน 10 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 8 คำ คิดเป็นร้อยละ 83.33

ครั้งที่ 3 จำนวน 8 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 8 คำ คิดเป็นร้อยละ 100

ครั้งที่ 4 จำนวน 20 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 18 คำ คิดเป็นร้อยละ 90.00

ครั้งที่ 5 จำนวน 20 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 16 คำ คิดเป็นร้อยละ 80.00

ครั้งที่ 6 จำนวน 12 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 9 คำ คิดเป็นร้อยละ 75.00

ครั้งที่ 7 จำนวน 8 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 5 คำ คิดเป็นร้อยละ 62.50

ครั้งที่ 8 จำนวน 15 คำ

จำนวนคำที่อ่านได้ 10 คำ คิดเป็นร้อยละ 66.66

สรุปผล

จากผลการทำวิจัย เรื่องการอ่าน ทำให้เด็กชายพงษ์ศิริ ปั้นประสงค์ มีพัฒนาการอ่านดีขึ้นจากเด็กที่ยังไม่แม่นด้านพยัญชนะและสระ สามารถเรียนรู้จากแบบฝึกทักษะการอ่านและสามารถอ่านสะกดคำได้ดีขึ้น

 

 

 

 

 

แบบบันทึกพฤติกรรมการอ่าน

ชื่อ เด็กชายสุทธิภัทร ฟูตระกูล ชั้น ป.2/5

ใช้เวลา 10 นาที ต่อครั้ง

ครั้งที่
 จำนวนพยัญชนะ - สระ
 อ่านได้
 อ่านไม่ได้
 
1
 44 ตัว ก - ฮ
 40
 4
 
2
 44 ตัว ก - ฮ
 41
 3
 
3
 44 ตัว ก – ฮ
 40
 4
 
4
 44 ตัว ก – ฮ
 42
 2
 
5
 44 ตัว ก – ฮ
 42
 2
 
6
 44 ตัว ก – ฮ
 40
 4
 
7
 44 ตัว ก – ฮ
 42
 2
 
8
 44 ตัว ก – ฮ
 44
 -
 
9
 สระ 10 ตัว
 5
 5
 
10
 สระ 10 ตัว
 5
 5
 
11
 สระ 10 ตัว
 5
 5
 
12
 สระ 5 ตัว
 1
 4
 
13
 สระ 5 ตัว
 2
 3
 
14
 สระ 4 ตัว เ-,เ-ะ,เ-า,เ-าะ
 2
 2
 
15
 สระ 10 ตัว สระ เ-ะ, เ-าะ อ่านไม่ได้
 8
 2
 
16
 สระ 10 ตัว สระ เ-ะ ยังไม่ได้
 9
 1
 
17
 สระ 10 ตัว
 10
 -
 
18
 สระ 11 ตัว
 5
 7
 
19
 สระ 15 ตัว
 11
 4
 
20
 สระ 15 ตัว
 14
 1
 

แบบบันทึกพฤติกรรมการอ่าน

ชื่อ เด็กชายสุทธิภัทร ฟูตระกูล ชั้น ป.2/5

ครั้งที่
 จำนวนคำ
 อ่านได้
 อ่านไม่ได้
 
1
 12 อ่านไม่คล่อง
 8
 4
 
2
 12 อ่านแบบสะกดอยู่
 8
 4
 
3
 12 อ่านไม่คล่อง
 9
 3
 
4
 16 อ่านไม่คล่อง
 9
 7
 
5
 16 อ่านไม่คล่อง
 8
 8
 
6
 16 อ่านไม่คล่อง
 10
 6
 
7
 20 อ่านแบบสะกด
 10
 10
 
8
 20 อ่านแบบสะกด
 10
 10
 
9
 8 อ่านไม่คล่อง
 6
 4
 
10
 16 อ่านแบบสะกด
 7
 9
 
11
 16 อ่านแบบสะกด
 8
 8
 
12
 12 อ่านแบบสะกด
 7
 5
 
13
 16 อ่านแบบสะกด
 8
 8
 
14
 8 อ่านไม่คล่อง
 5
 3
 
15
 4 ตัวสะกดง่ายๆ
 4
 -
 
16
 6 ตัวสะกดง่ายๆ
 5
 1
 
17
 10 ไม่มีตัวสะกด
 8
 2
 
18
 8 ตัวสะกดง่ายๆ
 6
 2
 
19
 8 ตัวสะกดง่ายๆ
 7
 1
 
20
 10 ไม่มีตัวสะกด
 8
 2
 

สรุปผลการอ่าน

จากการสังเกตในขณะที่เรียนวิชาภาษาไทย ในชั่วโมงแรกของการเริ่มเรียน ในปีการศึกษา 2546 ครูทดสอบให้นักเรียนอ่านบทเรียนเป็นรายบุคคลจึงพบว่า ด.ช.สุทธิภัทร ไม่สามารถอ่านหนังสือได้เลยจึงได้ทำการวิจัยโดยทำแบบทดสอบพยัญชนะไทย 44 ตัว โดยให้ฝึกอ่านดังนี้

แบบทดสอบชุดที่ 1 อ่านพยัญชนะ ครั้งที่ 1 นักเรียนอ่านได้ดังนี้ จาก 44 ตัว อ่านได้ 40 ตัว ตัวที่อ่านไม่ได้ส่วนมากจะเป็น ฎ, ฏ, ษ, ฐ แบบทดสอบชุดที่ 1 ทำการทดสอบถึง 8 ครั้ง ครั้งที่ 8 นักเรียนจึงอ่านได้ถูกต้องหมดทุกตัว นักเรียนยังอ่านได้ไม่คล่องเท่าที่ควร

แบบทดสอบชุดที่ 2 การอ่านสระจากการทดสอบทั้งหมด 12 ครั้ง ครั้งแรก จะอ่านได้ แต่ อะ, อา, อิ, อี, อุ, อู เท่านี้ สระที่เหลือนักเรียนยังอ่านไม่ได้ จึงทำการอ่านรูปสระอยู่โดยใช้เวลาฝึกทั้งหมด 12 ครั้งด้วยกัน แต่นักเรียนก็อ่านได้ยังไม่คล่องเท่าที่ควร ครูจึงทำการฝึกอ่านสระและพยัญชนะให้ได้แม่นยำก่อนจึงจะฝึกให้อ่านเป็นคำ แต่นักเรียนก็ยังไม่สามารถอ่านได้หมด

แบบทดสอบชุดที่ 3 ลองฝึกให้อ่านเป็นคำทั้งหมดมี 56 คำ ต่อการทำวิจัยใน 3 เดือน นักเรียนสามารถอ่านได้เฉพาะคำที่ไม่มีตัวสะกดและง่ายๆ ส่วนตัวที่มีตัวสะกดจะอ่านได้เฉพาะคำที่สะกดในมาตรา แม่ กง , แม่ กม , แม่ กบ , แม่ กด และเป็นตัวสะกดที่ตรงมาตรามีทั้งหมด 20 คำ และอ่านแบบสะกดคำก่อนทุกครั้งที่เหลือจะเริ่มฝึกอ่านอีกครั้งในเทอม 2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สรุปผลการวิจัย

จากการสังเกตพฤติกรรรมของ ด.ช.สุทธิภัทร ฟูตระกูล และ ด.ช.พงศ์ศิริ ปั้นประสงค์ปรากฏว่า นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการอ่านและมีความพยายามที่จะฝึกอ่านด้วยตนเองมากขึ้น และในขณะที่เรียนนักเรียนสามารถอ่านได้บ้างตามศักยภาพของตนเอง

 

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 352526เขียนเมื่อ 19 เมษายน 2010 11:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 13:44 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท