ท.ณเมืองกาฬ
นาย ทรงศักดิ์ พิราบขาว ภูเก้าแก้ว

การเก็บกด


จิตใต้สำนึก

 การเก็บกด (Repression)

               นักจิตวิทยาพบว่าคนเรามักจะจดจำเหตุการณ์ที่มีความสุขหรือสิ่งดี ๆ ในชีวิตได้มากกว่าเหตุการณ์ที่ผิดหวังหรือไม่น่ารื่นรมย์ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่าการเก็บกดหรือการจูงใจเพื่อลืมความจำที่เจ็บปวดหรือความละอายจะถูกเก็บกดให้อยู่ในจิตใต้สำนึก ตัวอย่างของการเก็บกดเช่น การลืมความล้มเหลวในอดีต ลืมชื่อบุคคลที่ไม่ชอบ ลืมการนัดหมายที่ไม่ต้องการไป ฯลฯ การเก็บกดนี้จะต่างจากการระงับ (Suppression) ซึ่งเป็นความพยายามหรือหลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึงบางสิ่งบางอย่าง เช่นหลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึงการสอบในอาทิตย์หน้า การระงับเป็นการกระทำในระดับจิตสำนึก ส่วนการเก็บกดอยู่ในระดับจิตใต้สำนึก

คำสำคัญ (Tags): #ฝืนใจตัว
หมายเลขบันทึก: 299399เขียนเมื่อ 21 กันยายน 2009 10:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 09:35 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีค่ะครูท. ไม่เก็บกดเนาะ สบายๆนะคะ

มาเยี่ยมค่ะ...สดชื่นตลอดวันนะคะ

 

 

สวัสดีครับ พี่แดง

  • ทำตัว  ทำใจ  ให้สบายๆครับ
  • ทุกอย่าง ไม่มีปัญหา  สดชื่นตลอดทั้งวันพี่
  • ขอบคุณมากๆครับ ที่มาเยี่ยม มาทักทาย
  • โชคดีมีสุขนะครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท