รับมรดกที่ดินเรื่องหมูๆ


เรื่องยากเป็นง่าย
             การรับมรดกจากเจ้ามรดก  ผู้มีสิทธิรับมรดกได้คือทายาทเท่านั้น  ไม่ว่าจะเป็นทายาทโดยธรรม  (ผู้สืบสันดานคู่สมรสโดยชอบด้วยกฎหมายบิดามารดาพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันพี่น้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกันลุงป้าน้าอาปู่ย่าตายาย)  หรือทายาทตามพินัยกรรม  (เจ้ามรดกกำหนดตัวผู้รับมรดกไว้)  การรับมรดกเกี่ยวกับที่ดิน  จะต้องขอจดทะเบียนโอนมรดกต่อเจ้าพนักงานที่ดิน    สำนักงานที่ดินท้องที่  ในการรับมรดกที่ดิน  ซึ่งผู้รับมรดกเป็นทายาทโดยธรรมหลายคน  ไม่ว่าที่ดินแปลงเดียวหรือหลายแปลง  ทายาททุกคนมีสิทธิ์รับมรดกตามสิทธิที่กฎหมายบัญญัติไว้  เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างจึงขอแยกเป็น 2 กรณี 

 

                กรณีที่  1  ทายาทขอรับมรดกทุกคนตามสิทธิ 

 

                กรณีที่  2  ทายาทขอรัมรดกตามการถือครงหรือความเป็นเจ้าของที่แท้จริง

 

              ทั้งสองกรณีมีผลที่แตกต่างกัน  หากที่ดินที่ขอรับมรดกมานั้นจะต้องมีชื่อเจ้าของที่ดินที่แท้จริง  ทำให้ทายาททุกคนขอจดทะเบียนให้ที่ดินระหว่างกันเองอีกครั้งหนึ่ง  ในการนี้จะต้องเสียค่าธรรมเนียมโอนให้ค่าภาษีเงินได้ฯค่าอากรแสตมป์ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเสียเวลาในการประกอบกิจการงานของตนเอง  และที่สำคัญอาจเสียความรู้สึก  ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า  การรับมรดกที่ดินที่เป็นเรื่องง่าย ๆ  อาจกลายเป็นเรื่องง่ายที่ควรรู้  ไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม  ไม่เสียเวลา  และเกิดความพึงพอใจในการอ่านบาทความนี้  และกรุณาเผยแพร่ต่อไป

 

                                                                                                   ขอบคุณครับ
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 2953เขียนเมื่อ 24 สิงหาคม 2005 12:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 พฤษภาคม 2012 11:11 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

อ่านเรื่องรับมรดกที่ดินหมู ๆ แล้ว ยังไม่ค่อยชัดเจน ไม่เห็นบอกรายละเเอยดว่าจะต้องทำอย่างไรบ้าง

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท