โครงการ All in project


เป็นโครงการ ที่จะช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะแทรซ้่อนรุนแรง

ระบบโรงพยาบาลทั่วไปไม่เข้มข้นพจะดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ได้

การเพียงแค่จ่ายยาและให้สมุดนัด ไม่เพียงพอสำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้

ได้แก่ ผู้ป่วยไตวาย  หัวใจล้มเหลว ตับแข็ง มะเร็งที่รับเคมีบำบัด ผู้ที่เปลี่ยนลิ้นหัวใจ

ผู้ป่วยเอดส์ที่มีภาวะแทรกซ้อน  ผู้ป่วยโรคหนังแข็งระยะรุกลาม เป็นต้น

การทำงานบริบาลผู้ป่วยเหล่านี้ จะเน้นงานจิตอาสาเป็นหลัก

จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า มีกิจกรรมมากมายที่ส่งผลดี ต่อผู้ป่วย

1 การทบทวนแผนการรักษา และการใช้ยา

2 การส่งเสริมความร่วมมืในการใช้ยา

3 การเฝ้าระวังาการไม่พึงประสงค์ด้านยา

4 การโทรศัพท์ติดตาม

5 การให้สุขศึกษา และการให้ข้อมูลเพื่อย้ำเตืนผู้ป่วย

6 การเสริมพลังใจ

7 การรวมกลุ่มผู้ป่วย

8 จิตอาสาในชุมชน

9 การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย

10 การจัดประชุมเพื่อทำกลุ่มบำบัด

11 เทคโนโลยีสารสนเทศ

โดยใช้แนวคิด disease management  and case management

ยอดผู้ป่วยปัจจุบันคือ 372 คน 13 กลุ่มโรค

 

ทำคนเดียว อยากได้พันธมิตร แต่เหมือน ไม่มีใครว่างเลย ในโรงพยาบาล

 

มี เจ้าหน้าที่อนามัย 1 คน อยากมาช่วย จาก สอ.ห้วยยาง (ปรบมือ)

คำสำคัญ (Tags): #km#r2r#เภสัชกร
หมายเลขบันทึก: 287838เขียนเมื่อ 15 สิงหาคม 2009 23:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 08:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ดีจังเลยค่ะ...แม้มีหนึ่งท่านร่วมเป็นจิตอาสา...

แต่นั่นน่ะก็เทียบได้กับพลังที่ยิ่งใหญ่...ร่วมปรบมือให้เช่นกันค่ะ

 

ในโรงพยาบาลน่าจะตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยที่บ้านนะคะ (รู้สึกว่ามาตรฐาน HA ต้องมี) และทีมทำงานก็ประกอบกันหลาย ๆกลุ่มงาน(ทีมสหสาขาวิชา)

แบบว่า ใน รพ. มีพยาบาล และ วิชาชีพื่น รับผิดชอบหมู่บ้าน 1 หมู่บ้าน

ส่วนขาดก็ คือ หลายคนไม่รู้วิธี ไม่มีทักษะ การบริบาลผู้ป่วย ในบริบท นอก โรงพยาบาล

ยกตัวเช่น

ในบ้าน มีคนไข้เบาหวาน ที่มี ไตวาย 1 ราย จนท. โรงพยาบาลส่วนใหญ่

จะขาดทักษะการบริบาลผู้ป่วย ทั้งด้านความรู้ทั่วไป

และความรู้แฝงเร้น

นอกจากนี้ อุดมการณ์ และความมุ่งมั่น ของแต่ละคนก็ไม่เท่ากัน

การที่คนป่วยกลุ่มนี้ ไม่มีระบบดูแลเป็นพิเศษ ทำให้

คนไข้เสียโอกาส ทางการรักษา

ยกตัวอย่าง ผู้ป่วย 1 ราย เป็นโรคหัวใจล้มเหลว ถึงแม้ จบ ป.เอก

จาก มหาลัย top 10 ของโลก

ก็ไม่มีความรู้ในการดูแลตนเองน่ะครับ (มีคนไข้จริง)

สวัสดีคะ

แนวคิดดูแลคนไข้แบบ disease management นี่ทำให้เราได้ดูแล  และได้รู้จักคน จริงๆคะ

งานโรงพยาบาลชุมชน ต้องการพลังที่ยิ่งใหญ่เสมอ

จึงขอเป็นกำลังใจมาณ. โอกาสนี้นะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท