เรื่องเล่าจากพรทิพย์ : ความเป็นสากลของมหาวิทยาลัย


the development of internationalization in key countries

ผมเอาข้อความจากจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ของคุณพรทิพย์ กาญจนนิยต มาลงไว้ครับ  เป็นการคัดลอกโดยตรง

Dear All, I've found a few news reports that are real interesting for us to be aware of and follow closely as they picture the development of internationalization in key countries of the world ka.
 
However, let me warn you gently that it's going to be quite long though I've tried to cut short na ka!! Anyway, extremely interesting especially when thinking about the implications in terms of strategic approaches, quality, budget, facilities and integration of international students in the country's education system ka.
 
After I finished reading all, I could only say 'Geg sim' naaa kaa!!
 
Porntip
 
 
 
 
Foreign students 'will evade millions in university fees'
By Liz Lightfoot, Education Correspondent
Weekly Telegraph (UK) discusses concerns in the UK that the admission of students from EU nations -- up considerably with EU expansion -- to British universities will result in substantial financial costs to the British taxpayer, not to mention more competition for a place in a university for Britsh secondary school graduates. The high reputation of British universities and the popularity of the English language has already made the country by far the biggest importer of European students.
There are around 40,000 undergraduates from other EU countries on three- or four-year courses - the equivalent of three medium sized universities. The number of EU students accepted here last year rose by 24.4 per cent to 12,068 and applications for this September are up by 53 per cent, from 9,926 to 15,187, largely because of the 10 countries that joined the EU last year.
 
 
Rt Hon Helen Clark Prime Minister Address to Alumni and Education Lunch at
New Zealand Embassy, Beijing
12.30 pm (local time) Tuesday, 31 May 2005
New Zealand today welcomes large numbers of international students, professors, and researchers to its education and research institutions; and many young New Zealanders pursue further study overseas. Our strong international links help to keep New Zealand education fresh and relevant.
As recently as the early 1990s, only around 100 Chinese students studied in New Zealand each year. Last month, April 2005, there were more than 23,000.
In 2005,  Chinese students won more New Zealand government doctoral scholarships last year than any other country.
In particular, we share with the Chinese government a desire to establish more high-level education co-operation, including joint research and collaboration.
 
Yesterday I discussed with President Hu Jintao and Premier Wen Jiabao the growth in the relationship between New Zealand and China in many areas. We discussed the free trade agreement which China and New Zealand are
currently negotiating.
 
You see how education has been given such a high priority that leaders care so much to bring it up while linking it with other sectors na ka!!
It is my great pleasure today to announce the establishment of a New Zealand Alumni Network in China, the first of its kind for New Zealand in this country. The network will help alumni keep in touch with the education and research institutions where they studied, with New Zealand, and with each other. It will do this by providing alumni with up to date information about New Zealand and about opportunities in our country
 
The Age in Melbourne
Foreign student growth slows
By David Rood
Higher Education Reporter
May 30, 2005
Growth is continuing to slow in Australia's international student market, with new data showing the rate for universities is down by almost two-thirds so far this year.
The number of international students starting university to March rose by 3.3 per cent, significantly less than the 8.6 per cent growth at the same time last year, according to Australian Education International, the Federal Government body supporting international education. Commencing students increased by 1268 to March, compared with a rise of 3005
last year.
The international education sector, including universities, colleges,  vocational training and schools, is valued at $6 billion.
Australian universities are also facing more competition from countries such as Germany and Russia offering courses in English.
03. Juni 2005 F.A.Z. Weekly.  (Frankfurter Allgemaine)
Fifteen percent of the newly created "junior professorships," are held by foreign academics. And more than 200,000 foreign students are currently enrolled at German universities. Asians account for more than one-quarter, or the second-biggest group of foreign students after the Europeans. Chinese students, in particular, are drawn to Germany, and many  of them come here for an engineering degree.
With a share of foreign students of more than 10 percent, Germany is actually ranked ahead of the United States, where just 4 percent of all students come from abroad.
 
Fifteen percent of German students spend part of their university time abroad. The single largest share, or 18.8 percent, of the roughly 56,000 German students who study abroad attend universities in the UK, followed by the United States with 16.6 percent, Switzerland with 11 percent and France with 10.4 percent
 
CRIEnglish.com
China Attracts More International Students 2005-6-7 17:14:38
Along with the growing "China craze" worldwide, China is now attracting more international students to come and study in China. Officials say the surge in the number of international students will help make China's universities more international.
Over 100,000 overseas students from near 200 countries in the world came to
study in China last year. And the number of the students from South Korea, Japan, US, Vietnam and Indonesia are among the top five of all students. They are mainly majoring in Chinese language, culture, economics, law, science and technology.
"We are planning to establish an online system to assess the education of international students. Besides, we will improve the medical insurance system for them so that they can enjoy the same benefits as Chinese students."

Chen Yinghui said the assessment system will be tested by 2005. Once it is used across the country, international students will be fully absorbed into the Chinese education system.

ท่านผู้อ่านคงเห็นภาพของความเคลื่อนไหวในมหาวิทยาลัยของประเทศต่างๆ ดีพอสมควร

คำสำคัญ (Tags): #มหาวิทยาลัย
หมายเลขบันทึก: 285เขียนเมื่อ 17 มิถุนายน 2005 20:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 มิถุนายน 2012 22:43 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ปีที่แล้ว เมื่อตอนที่ผมยังเรียนอยู่ที่สก็อตแลนด์ นักศึกษาทั่วยูเค โดยเฉพาะที่อังกฤษ ออกมาประท้วงเรื่องที่รัฐจะอนุญาตให้มหาลัยรัฐเก็บค่าเทอมเพิ่มได้ เป็นเรื่องเป็นราวอยู่นาน แต่สุดท้ายก็คือ ค่าเทอมแพงขึ้น

เพราะรัฐเองก็ไม่ได้มีเงินมากมาย ก็ไม่สามารถสนับสนุนมหาลัยได้เต็มที่ คงเหมือนกับเมืองไทยตอนนี้ คือเร่งให้มหาลัยหาเงินกันเอง พวกมหาลัยระดับต้น ๆ นั้นไม่ค่อยมีปัญหาเท่าไหร่ แต่มหาลัยไม่ค่อยดังนี่ก็ลำบากหน่อย 

ทำให้มีคนสังเกตว่า การที่จำนวนนักศึกษาต่างชาติ โดยเฉพาะที่ไม่ได้จากกลุ่มสหภาพยุโรป (non-EU) เพิ่มขึ้นสูงมาก ในระบบมหาลัยของทั้งยูเค เกี่ยวกับเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ ด้วยรึเปล่า

นักศึกษา UK/EU จ่ายค่าเล่าเรียนน้อยกว่า non-EU ถึงประมาณสามเท่า

อย่างหลักสูตรของผมนั้น ถ้าเป็น non-EU ต้องจ่ายถึง 10,650 ปอนด์ (หลักสูตร 1 ปี) แต่นักศึกษา EU จ่ายเพียงราว 3,000 ปอนด์

องค์กรนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเอดินบะระที่ผมเคยอยู่ ยื่นหนังสือถึงฝ่ายบริหาร ให้ตอบข้อสงสัยว่า การเชื้อชาติของนักศึกษา (non-EU vs EU) มีผลต่อการรับเข้าศึกษารึเปล่า (เพราะถ้าเป็น non-EU มหาลัยจะได้เงินมากกว่า) - แน่นอน ฝ่ายบริหารออกมาบอกว่า ไม่เกี่ยวข้องกัน

คล้าย ๆ มหาลัยไทยตอนนี้นิดหน่อย มหาลัยรัฐนิยมเปิดโครงการพิเศษ เพราะเก็บค่าเทอมได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยกว่า (ที่ธรรมศาสตร์ ตอนนี้จำนวนรับนศ.โครงการพิเศษ น่าจะมากกว่าโครงการปกติแล้ว - นับรวมทุกระดับ)

 

 

 

สถาบันอุดมศึกษาบ้่านเราจะดึงชาวต่างชา่ติที่ไหนมาเรียนได้บ้าง 

เรื่องเงินนี่จะเอาให้ได้เยอะ ๆ แบบประเทศอื่น ๆ ข้างบนลำบาก (เค้ามีจุดดึงดูเรื่องภาษา - อังกฤษคนใช้เยอะ จีนเดี๋ยวนี้ใคร ๆ ก็อยากค้าขายด้วย ; หรือไม่ก็เทคโนโลยี เยอรมนี ฝรั่งเศส ..)

แต่ที่อยากได้คือ บรรยากาศในห้องเรียน ในห้องวิจัย น่าจะหลากหลายขึ้น คนพื้นเพไม่เหมือนกัน ความคิดก็ต่างกัน ถ้าถกกันในห้องเรียนได้ คงจะสนุก

:) 

อ้อ ผมสนับสนุนการออกนอกระบบนะครับ :)

และที่สนับสนุนมากคือ รัฐควรจะยกเลิกการอุดหนุนการศึกษาแบบ "หว่านแห" ได้แล้ว, แล้วมาเจาะจงอุดหนุนเฉพาะรายที่น่าสนับสนุนจริง ๆ (เช่น นักศึกษาขาดแคลนจริง ๆ หรือ ประเทศกำลังขาดแคลนสาขานั้นจริง ๆ ต้องการให้คนมาเรียนเยอะ ๆ)

รุ่นพี่คนนึง (ตอนนี้เข้าใจว่าเป็นอาจารย์อยู่ในมหาลัยรัฐแถวอีสาน) เคยบันทึกไว้ในบล็อก ขออนุญาตเอามาลงตรงนี้:

 


อภิสิทธิ์ของนักศึกษา

เห็นพูดกันว่าออกนอกระบบแล้ว นักเรียนจะไม่มีโอกาสเรียนเพราะค่าเทอมแพงขึ้น ฟังดูดีแต่จากที่ตาเห็นกลับปรากฏว่า การที่นักเรียนได้รับการอุดหนุนจากเงินภาษีทำให้จ่ายค่าเทอมน้อยกว่าที่ควรจ ่าย คือประมาณไม่ถึงร้อยบาทถึงร้อยกว่าบาทต่อหน่วยกิต ทั้งๆที่ค่าใช้จ่ายจริงควรจะเกินพันบาทต่อหน่วยกิตนั้น

ไม่ได้ช่วยสร้างคนที่จะออกมาช่วยสร้างชาติสักเท่าใดเลย

เพราะจะเห็นนักเรียนเขียมค่าลงทะเบียนเอาไปจ่ายค่าเหล้าก็มาก ไปจ่ายค่าเที่ยวค่ากินก็มาก ไปซื้อการ์ตูน หรือเอาไปลงกับงานอดิเรกที่ฟุ่มเฟือยก็ไม่น้อย บ้างก็ไปเป็นค่าน้ำมันรถ (ซึ่งได้เป็นของขวัญจากคุณพ่อคุณแม่เมื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้) และค่าทางด่วน

และเพราะว่าการที่ได้รับการอุดหนุนจากภาษีของประชาชนโดยไม่รู้ตัว ทำให้มีน้อยคนที่จะสำนึกได้ว่า โอกาสทางการศึกษาของตนเองนั้น เป็นพระคุณของชาติ คือเป็นพระคุณของประชาชนคนไทย ควรที่จะตอบแทนสู่สังคมไทย ไม่รูปแบบใดก็รูปแบบหนึ่ง

แต่กลับกลายเป็นว่า แต่ละคนก็คิดเอาว่า ฉันเรียนเอง ค่าเทอมฉันออกเอง เพราะฉะนั้น ฉันจบแล้วฉันจะกอบโกยเอง มันผิดตรงไหน? เมื่อไปทำงานกับบริษัท แทนที่จะทำงานอย่างซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา ก็หาทางทำกำไรให้บริษัทอย่างไม่ลืมหูลืมตา ไม่ดูว่าผู้บริโภคซึ่งเป็นคนที่ส่งเสียพวกเราเรียนจนจบนั้นจะโดนผลกระทบอะไร บ้าง สังคม ซึ่งให้โอกาสเรามากมาย สูญเสียอะไรไปบ้าง

อย่ากระนั้นเลย เลิกอุดหนุนการศึกษาโดยการปิดบังค่าใช้จ่ายที่แท้จริงเสียเถอะ ปล่อยให้คนเหล่านี้ดิ้นรนขึ้นสู่ที่สูงเอาเอง เพราะจะอุดหนุนหรือไม่อุดหนุน เดี๋ยวพวกนี้มันก็กลับมาสูบเลือดพวกเราอยู่ดี ไม่เห็นจะต่างกัน

 


ความเห็นของผม

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท