นางเกษมศรี สมสาร์


การเรียนการสอน

การเรียนการสอน

   พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ  2542 ให้ความสำคัญกับผู้เรียน ไม่ว่าผู้เรียนนั้นจะเรียนระดับปฐมวัยหรือระดับอุดมศึกษา แต่การดำเนินการจะต้องมีการประยุกต์วิธีการให้สอดคล้องกับธรรมชาติของเนื้อหาวิชา หรือความแตกต่างระหว่างบุคคล  ตลอดจนระดับชั้นปีที่ศึกษา  ดังข้อความในมาตรา  22  ที่บัญญัติไว้ว่า  การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด  กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 27190เขียนเมื่อ 7 พฤษภาคม 2006 12:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:22 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

รู้น้อยพลอยรำคาญ (สุภาษิตไทย)

  รู้น้อยไม่เข้าใจ  ทำให้เกิดความรำคาญใจ

  การได้ศึกษาเล่าเรียนมาน้อย  ทั้งไม่เข้าใจในวิชาที่เล่าเรียนอีกด้วย  ทำให้ไม่อาจนำความรู้นั้นมาใช้ดำเนินชีวิตได้อย่างบรรลุเป้าหมาย

  เหมือนคนหิวกระหายแต่มีนำดื่มเพียงติดก้นแก้ว  ย่อมไม่อาจดับความหิวกระหายได้

        นี่คือข้อฝากเตือนใจทุกคน

ได้เข้าอ่านข้อคิดเห็นแล้วรู้สึกประทับใจมาก  และจะนำไปเป็นแนวทางใช้เป็นข้อเตือนใจให้ศึกษาหาความรู้ให้มากๆกว่าเดิม

ขอบคุณมากนะคะสำหรับข้อเตือนใจ

นางมยุรี  แสงชาติ

c.i  6.1  เลขที่  31

ขอแสดงความยินดีที่ทำบล็อกนี้ได้สำเร็จ ค่อนข้างดี ยังไม่มีเนื้อหาสาระเพียงพอ กรุณาแจ้งไปให้เพื่อน ๆ ทราบที่อยู่และแสดงความคิดเห็นด้วยตัวของเขาเอง หวังว่าท่านจะพัฒนาและอัพเดตบล็อกนี้อย่างสม่ำเสมอทุก ๆ วัน หรือ 2-3 วันต่อครั้งก็จะเป็นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการทำมากขึ้น ท่านสามารถใช้เวทีแห่งนี้สร้างผลงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกทั้งในและต่างประเทศได้ตลอดไป ไม่สิ้นสุด กรุณาทำเว็บลิงค์ด้วยเพื่อให้บล็อกสมบูรณ์

ลองเยี่ยมชมบล็อกของผมได้ http://spaces.msn.com/ymanit และ http://gotoknow.org/ymanit

มานิต

        ทฤษฎี  4 MAT  เป็นลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน 4 วิธี  ทุกวิธีถือว่ามีคุณค่าเท่ากันหมด ผู้เรียนจะใช้เป็นเอกลักษณ์การเรียนรู้ สรุปจากเอกสารแปลของ (หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุทธยา  ณ  โรงเรียนประสาทวิทยา ,2540) ได้แก่

    พวกที่ชอบถามว่าทำไม(Why) ชอบใฝ่หาความหมายที่มีต่อตนเอง สิ่งที่เรียนรู้

    พวกที่ชอบถามว่าอะไร(What)ชอบใช้ประสาทสัมผัสข้อมูลสารสนเทศ

    พวกที่ชอบถามว่าอย่างไร(How)ชอบค้นหาวิธีการทำงานในสิ่งที่ต้องการรู้

   พวกที่ชอบให้ความสำคัญแก่การค้นพบด้วยตนเอง(...IF) โดยการตั้งเงื่อนไข หรือคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าก่อนจะลงมือหาคำตอบ

   

 

 

   ลักษณะขององค์การแห่งการเรียนรู้

    1. มีโครงสร้างที่เหมาะสม

    2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ในองค์การ

    3. มีการเพิ่มอำนาจปฏิบัติ

    4. มีการตรวจสอบ

    5. ทุกคนมีส่วนสร้างและถ่ายโอนความรู้

    6. มีเทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้

    7. มุ่งเน้นคุณภาพ

    8. ย้ำเน้นความมีกลยุทธ์

    9. มีบรรยากาศที่เกื้อหนุน

    10.การทำงานเป็นทีม

    11.มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน

ได้เข้ามาเยี่ยมชมบล็อกของพี่นางเห็นว่ามีพัฒนาการดีขึ้นมาก สู้ต่อไปนะพี่

นางอะรอน  วงศ์มั่น  c.i 6.1  no. 50

ได้เข้ามาเยี่ยมชมแล้ว เห็นว่าบล็อกมีการพัฒนาดีขึ้นเรื่อยๆ เก่งมากน้องพี่ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะ

เสาวณี  มรกตเขียว  c.i  6.1  no.  46

http://gotoknow.org/soawanee

น้องเก่งมากที่มีความสามารถพัมนาความรู้ขึ้นไปเรื่อยๆ สู้ต่อไปนะน้อง

      สำรวย  รัตนบรรดาล  c.i  6.1  no.  41

     http//gotoknow.org/somruay

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท