แตงไทย
นฤมล ชื่อเล่น "แตงไทย" (สำหรับครอบครัว), "แตงอ่อน" (สำหรับเพื่อนๆ), "I tang" (สำหรับพี่ๆ ทั้งหลาย) จันทรศรี

การรับมือกับวัยหมดประจำเดือนด้วยโยคะ - อาสนะ 2


 
เว็บศูนย์รวม "โยคะสารัตถะ

การรับมือกับวัยหมดประจำเดือนด้วยโยคะ

เขียนโดย ;
ณัฏฐ์วรดี ศิริกุลภัทรศรี ศันสนีย์ นิรามิษ 
(เข้าอ่านทั้งหมดที่นี่)

โยคะสารัตถะ ฉ.: ก.ย.'๕๑

อาสนะพื้นฐานสำหรับวัยหมดประจำเดือนชุด 2 

กะปาละภาติ (Kapalabhati)


ท่าภูเขา (Tadasana)


ท่าสุริยนมัสการ (Sun Salutation)

เป็นท่าเพื่อเตรียมร่างกายให้พร้อมสำหรับฝึกอาสนะ เกิดจากอาสนะ 12 ท่ามาฝึกฝนอย่างต่อเนื่องกัน

ท่าตรีโกณ (Trikonasana)


ท่ายืนเหยียดขาพับตัว (Stand Spread Let Forward Fold)


ท่านักรบ (Virabhadrasana)


ท่าดอกบัว (Padmasana)


ท่าเรือ (Paripurna Navasana)


เป็นท่าที่เพิ่มกำลังให้บริเวณหน้าท้องและงอกล้ามเนื้อช่วงสะโพก, ปรับกล้ามเนื้อช่วงกลางลำตัว, พัฒนาระบบย่อยอาหาร และคลายความตึง คุณอาจใช้สายรัดเพื่อช่วยในการค้างในท่าให้นานขึ้นหรือเวลาที่คุณไม่สามารถเหยียดขาตรงได้

ท่าปลา (Matsyasana)

ช่วยบรรเทาอาการยึดบริเวณกล้ามเนื้อคอและหัวไหล่ และยังช่วยพัฒนาความยืดหยุ่นของหลัง เป็นท่าที่สมดุลด้วยการยืนด้วยไหล่ ค้างอยู่ในท่าให้ได้เวลานานเป็นครึ่งหนึ่งของการยืนด้วยไหล่เป็นอย่างน้อยเพื่อสมดุลการเหยียดยืด

ท่าตั๊กแตน (Salabhasana)

ถ้าท่างูฝึกด้วยการใช้หลังช่วงบนเป็นหลัก จุดมุ่งหมายของท่าตั๊กแตนจะอยู่ที่หลังช่วงล่าง ท่านี้เพิ่มกำลังที่ช่วงท้อง, แขน และขา อีกอย่างหนึ่งที่ทำให้ท่านี้แตกต่างจากท่าอื่นคือการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว

ท่ายืนด้วยไหล่ (Sarvangasana)

ท่ายืนด้วยไหล่ ร่างกายจะพักอยู่บนหัวไหล่คุณ ท่านี้จะพัฒนาระบบไหลเวียนของโลหิต, เพิ่มกำลังบริเวณท้อง และกระตุ้นต่อมไทรอยด์

ท่าธนู (Dhanurasana)

เป็นท่าของการยืดหยุ่นกระดูกสันหลัง, พัฒนาการฝึกท่าอาสนะอื่น, เพิ่มกำลัง, ลดไขมันหน้าท้อง และช่วยระบบย่อยอาหารให้มีสุขภาพดี ท่านี้เป็นการเคลื่อนไหวรวมของท่างูและท่าตั๊กแตนเข้าด้วยกัน และเป็นท่าในทิศตรงข้ามกับท่าคันไถ (The Plough) และเหยียดตัวไปข้างหน้า (Forward Bend) ขณะที่คุณยกตัวขึ้น

ท่าแมว (Bidalasana)

ท่าแมวจะสอนให้คุณเริ่มเคลื่อนไหวจากจุดศูนย์กลางไปพร้อมกับลมหายใจของคุณ ซึ่งทั้งสองส่วนนี้เป็นหัวใจหลักของการฝึกโยคะ ให้ระลึกไว้คุณไม่สามารถฝึกท่าแมวได้หากมีอาการเจ็บที่หลัง

ท่าบิดตัวขาพับ (Ardha Matsyendrasana)

ถ้าอยู่ในท่าเรียบร้อยแล้ว ท่าบิดตัวขาพับจะช่วยเหยียดและยืดกระดูกสันหลัง และยังมีประโยชน์กับตับ, ไต และต่อมหมวกไตเป็นอย่างดี ควรฝึกท่านี้ภายใต้คำแนะนำของครูฝึก

ท่านอนหน้าผากจรดหัวเข่า (Pavanamuktasana)

ท่าศพ (Savasana)


ท่าผ่อนคลาย


อนุโลมะ วิโลมะ (Anuloma Viloma)

เทคนิคการทำสมาธิอย่างง่าย



มูลนิธิหมอชาวบ้าน

2220/101 ซอยรามคำแหง 36/1  ถนนรามคำแหง  แขวงหัวหมาก  
เขตบางกะปิ  กรุงเทพฯ  10240  
โทรศัพท์  02-732-2016 - 17, โทรสาร 02-732-2811 มือถือ 081-401-7744 ; 
E-mail: [email protected] ; www.thaiyogainstitute.com

หมายเลขบันทึก: 259331เขียนเมื่อ 5 พฤษภาคม 2009 04:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 20:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท