ไม้ไผ่ กับ หมู ต่างกันที่โทนเสียง


ไม้ไผ่ bamboo

ภาพหน่อไม้ (ไผ่)

 

หมู หรือสุกร pig

ภาพหมูตัวเมีย (sow) และลูกหมู (piglet)

 

เพิ่มเติม 19-3-52, 1:33 น.

การใช้ระดับโทนเสียงในภาษาจีนมีความสำคัญมากเนื่องจากออกเสียงโทนต่างกัน หมายถึงคำที่แตกต่างกัน (ตรงนี้เหมือนคำไทย ที่ผันวรรณยุกต์แล้ว หมายถึงคำคนละคำ เช่น ขาว ข่าว ข้าว)
ในเสียงพูดนี้ ออกเสียงคำจีนที่ใช้โทนเสียงไม่ถูกต้อง จะสื่อความหมายผิด เช่น ต้นไม้ไผ่ (พันคำใช้รูปหน่อไม้ จริงๆไม่ถูกต้อง เนื่องจากหน่อไม้มีคำเรียกเฉพาะอีกด้วย ดูข้างล่างครับ) และหมู

zhú

bamboo


(笋 sǔn bamboo shoot)


zhū

pig, swine

 

คำสำคัญ (Tags): #โทนเสียงจีน
หมายเลขบันทึก: 249454เขียนเมื่อ 19 มีนาคม 2009 07:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 พฤษภาคม 2012 18:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สวัสดีค่ะ...อาจารย์

ยังไม่ค่อยเข้าใจค่ะ

รู้แต่ว่า...

ถ้านำหน่อไม้ไผ่ กับหมู มาต้มรวมกัน

จะน่าทาน...ไม่ใช่น้อย

    ^___^

สวัสดีครับ คุณครู windy

  • เงียบไปสักพักหนึ่งนะครับ
  • หวังว่ามีความสุขสบายดีนะครับ
  • ขอบคุณครับที่กรุณาแสดงความคิดเห็น พันคำเลยเขียนเพิ่มเติมอีกนิด
  • ใช่แล้วครับแกงจืดหน่อไม้ซี่โครงหมูเป็นน้ำซุปที่ดี ส่วนเมนูที่อร่อยอีกจานคือผัดเผ็ดหน่อไม้ไก่ ของโปรด !!

ขอบคุณมากครับพี่พันคำ

เดย์ไม่รู้ภาษาจีนเลย แต่แวะเข้ามาฟังแล้วน่ารักดี ออกเสียงตามไม่เหมือนเลยครับ 555 รูปน่ารักจัง หน่อไม้น่าเจี๊ยะ ลูกหมูน่าอุ้ม

คุณwindy ทำผมหิวแล้ว :)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท