Anonymous Anonymousเขียนเมื่อ 31 มีนาคม 2549 14:09 น. ()
แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2555 13:57 น. ()
ผลการวิเคราะห์ช่องว่างทางวิชาการ (Gap Analysis) กับสิ่งที่ปฏิบัติได้จริง (ตัวอย่างการวิเคราะห์)
ข้อแนะนำวิชาการ
|
สิ่งที่ปฏิบัติในปัจจุบัน
|
สิ่งที่ต้องการให้เป็น
|
แผนปฏิบัติ
|
ระยะบำบัด
- การให้บริการปรึกษารายบุคคลและ ครอบครัว
ครั้งที่ 1 ข้อตกลงและคำยินยอมในการบำบัด
ข้อตกลงและคำยินยอมในการบำบัด
- ประเมินสภาพร่างกาย จิตใจ สังคม ซักประวัติ
- สำรวจผลกระทบและความคาดหวังสำหรับผู้รับการบำบัด
- สำรวจผลกระทบและความคาดหวังสำหรับครอบครัว
- แนะนำโปรแกรมและตารางกิจกรรมจิตสังคมบำบัดสำหรับผู้ติดยาบ้า
- ข้อตกลงและหนังสือยินยอมการบำบัด
- ข้อตกลงในการช่วยเหลือของสมาชิก ครอบครัวต่อการบำบัด
(ระยะแรก)
ข้อตกลงและคำยินยอมในการบำบัด |
- ประเมินสภาพร่างกาย จิตใจ สังคม
ซักประวัติ
- สำรวจผลกระทบและความคาดหวังสำหรับผู้รับการบำบัด
- สำรวจผลกระทบและความคาดหวังสำหรับครอบครัว
- แนะนำโปรแกรมและตารางกิจกรรม จิตสังคมบำบัดสำหรับผู้ติดยาบ้า
- ข้อตกลงและหนังสือยินยอมการบำบัด
- ข้อตกลงในการช่วยเหลือของสมาชิก
ครอบครัวต่อการบำบัด(ระยะแรก)
|
- การประเมินสภาพปัญหาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
ได้นำสู่การวางแผนการช่วยเหลือเป็นรายบุคคล
และมีการติดตามแก้ไขปัญหาจนครบทุกปัญหา
และมีการส่งต่อปัญหาอย่างต่อเนื่องในทีมนักบำบัด
|
- หลังนักบำบัดพูดคุยกับผู้ป่วยทุกครั้ง
ควรมีแแบบสรุปความก้าวหน้าในการดำเนินการ
และวางแผนประชุมทีมสหวิชาชีพหรือนักบำบัดร่วมกัน
- การประชุมทีมบำบัดอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง
|
ข้อแนะนำวิชาการ
|
สิ่งที่ปฏิบัติในปัจจุบัน
|
สิ่งที่ต้องการให้เป็น
|
แผนปฏิบัติ
|
ครั้งที่ 2
การหยุดใช้ยาและจัดตารางเวลาประจำวัน
- ใบความรู้และเส้นทางสู่การเลิกยา
- แบบสำรวจเพื่อช่วยเลิกยา
การหยุดใช้ยาและจัดตารางเวลาประจำวัน |
|
- มีการพูดคุยรายบุคคลตรงตามคู่มือ
|
- พูดคุยในทีมนักบำบัดเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ
และแนวทางจัดบุคลากรให้เป็นผู้บริการปรึกษารายบุคคล
- จัดให้ผู้ช่วยนักบำบัดพูดคุยรายบุคคลกับผู้ป่วย
กรณีนักบำบัดทำไม่ได้
|
ครั้งที่ 3
สารกระตุ้นประสาทและเพศสัมพันธ์
สารกระตุ้นประสาทและเพศสัมพันธ์ |
- ไม่ได้ปฏิบัติเนื่องจากสภาพของผู้ป่วยไม่มีวัตถุประสงค์เฉพาะในการใช้ยาเพราะตัวกระตุ้นเรื่องเพศสัมพันธ์
|
- ตัดหัวข้อนี้ออกและใช้ทำเฉพาะในรายที่ประเมินแล้วมีปัญหาด้านนี้จริง
ๆ
|
- การปรับปรุงคู่มือการให้บริการปรึกษารายบุคคล
และวิธีการประยุกต์ใช้หัวข้อ
กรณีที่ผู้ป่วยไม่มีสภาพปัญหานั้นเกิดขึ้น
|
ครั้งที่ 4
ฝันเกี่ยวกับการเสพยาระหว่างการเลิกยา
ฝันเกี่ยวกับการเสพยาระหว่างการเลิกยา |
- นำหัวข้อเรื่องไปพูดคุยในช่วงที่เริ่มทำกลุ่ม ER
หรือ RP
กรณีประเมินแล้วมีสมาชิกกลุ่มฝันเกี่ยวกับเรื่องยา
|
- สามารถประยุกต์ใช้ได้ตามที่ปฏิบัติในปัจจุบัน
|
- การปรับปรุงคำชี้แจงในคู่มือ
-
การประชุมทีมนักบำบัดเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและเทคนิคการประยุกต์ใช้
|
ครั้งที่ 5
การทบทวนสถานภาพของผู้รับการบำบัด
- แบบสอบถามระยะฝ่าอุปสรรค
- ใบกิจกรรมหยุดเสพทีละวัน
- กิจกรรมนันทนาการ
การทบทวนสถานภาพของผู้รับการบำบัด |
|
|
- การพูดคุยในทีมนักบำบัด
-
การวางแผนการพูดคุยรายบุคคลโดยนักบำบัดประจำกลุ่มและผู้ช่วยกลุ่ม
|
ข้อแนะนำวิชาการ
|
สิ่งที่ปฏิบัติในปัจจุบัน
|
สิ่งที่ต้องการให้เป็น
|
แผนปฏิบัติ
|
ครั้งที่ 6 ระยะฝ่าอุปสรรค
- แบบสอบถามระยะฝ่าอุปสรรค
- ใบกิจกรรมหยุดเสพทีละวัน
- กิจกรรมนันทนาการ
ระยะฝ่าอุปสรรค |
|
- การนำไปใช้เฉพาะผู้ป่วยที่ประเมินว่ามีการเปลี่ยนแปลงในระยะฝ่าอุปสรรค
|
- การพูดคุยถึงวิธีการประยุกต์ใช้และกากรประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วย
|
ครั้งที่ 7
การสนับสนุนจากครอบครัว
- ใบความรู้ ประโยชน์จากการมีส่วนร่วมของครอบครัว
- ใบกิจกรรม ข้อตกลงในการช่วยเหลือสมาชิกครอบครัวต่อการบำบัด
(ระยะกลาง)
การสนับสนุนจากครอบครัว |
|
|
- วางแผนการพูดคุยเป็นรายบุคคล
-
เตรียมความพร้อมนักบำบัดและผู้ช่วยนักบำบัดด้านความรู้ความเข้าใจ
- พูดคุยถึงปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
|
ครั้งที่ 8 อารมณ์และการเลิกยา
- ใบความรู้ ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม
- แบบประเมินอารมณ์และความรู้สึก
- ใบความรู้อารมณ์และการเสพยา
อารมณ์และการเลิกยา |
|
- ทำได้ตามคู่มือตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย
ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงสามารถงดได้
|
- การวางแผนการพูดคุย
- การประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
|
ครั้งที่ 9
การประเมินภายหลังการบำบัด
- ใบกิจกรรมแบบประเมินหลังการบำบัด
- ใบกิจกรรมวางแผนในระยะที่ 2
- ใบประเมินภายหลังการใช้ยา
การประเมินภายหลังการบำบัด |
|
|
- หลังจบโปรแกรมทำการประเมินภายหลังการบำบัดทุกราย
-
นำผลการประเมินประกอบการวางแผนการติดตามด้วยกลุ่มสนับสนุนทางสังคม
|
ข้อแนะนำวิชาการ
|
สิ่งที่ปฏิบัติในปัจจุบัน
|
สิ่งที่ต้องการให้เป็น
|
แผนปฏิบัติ
|
ครั้งที่ 10 การวิเคราะห์การติดยาซ้ำ
(เฉพาะกรณีที่มีการติดยาซ้ำ)
- ใบกิจกรรมแผนภูมิการวิเคราะห์การกลับไปติดยาซ้ำ
การวิเคราะห์การติดยาซ้ำ (เฉพาะกรณีที่มีการติดยาซ้ำ) |
|
- ทำเหมือนที่เคยปฏิบัติต่อไป
|
- การประเมินการใช้แผนภูมิการวิเคราะห์การกลับไปติดซ้ำ
|
- กลุ่มทักษะการเลิกยาระยะต้น
-
(Early Recovety)
|
|
- การปรับปรุงเนื้อหาในส่วนที่ยังไม่ชัดเจน
|
- ประชุมทีมนักบำบัดเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการพูดคุยถึงวิธีการปรับปรุงเนื้อหาในแต่ละ
Session
|
- กลุ่มทักษะการป้องกันการกลับไปเสพติดซ้ำ
(Relapse Prevention)
-
|
|
- การปรับปรุงเนื้อหาในส่วนที่ยังไม่ชัดเจน
|
- ประชุมทีมนักบำบัดเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการพูดคุยถึงวิธีการปรับปรุงเนื้อหาในแต่ละ
Session
|
- กลุ่มครอบครัวศึกษา
-
(Family Education)
|
|
- ครอบครัวทุกครอบครัวเข้ากลุ่มครอบครัวศึกษา
|
- ประชาสัมพันธ์ความสำคัญของกลุ่มครอบครัวศึกษากับครอบครัว
-
สร้างแรงจูงใจในการเข้ากลุ่มครอบครัวศึกษาโดยวางแผนร่วมกันในทีมนักบำบัด
|
ข้อแนะนำวิชาการ
|
สิ่งที่ปฏิบัติในปัจจุบัน
|
สิ่งที่ต้องการให้เป็น
|
แผนปฏิบัติ
|
- การติดตามดูแลหลังจบโปรแกรม
-
- กลุ่มสนับสนุนทางสังคม (Social Support)
|
- นัดมาติดตามดูแลหลังรักษา
โดยการพูดคุยเป็นรายบุคคลทุก 2 สัปดาห์, 1 เดือน, 3 เดือน, 6 เดือน, 8
เดือน และ 12 เดือน
|
- การติดตามดูแลหลังรักษาโดยการพูดคุยเป็นแบบกลุ่มสนับสนุนทางสังคม
เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมหลังการบำบัด
|
- เตรียมความพร้อมผู้ป่วย
ชี้ให้เห็นความสำคัญของการติดตาม
- การเตรียมความพร้อมของทีม
สหวิชาชีพและนักบำบัดประจำกลุ่มเกี่ยวกับความรู้
ความเข้าใจในการทำกลุ่มสนับสนุนทางสังคม
- ตารางการนัดหมายเข้ากลุ่มสนับสนุนทางสังคม (นัดตาม บสต.5)
ติดตามจนครบ 1 ปี
- จัดผู้ป่วย ผู้ช่วยนักบำบัด (Co therapist)
ซึ่งเป็นคนเดียวกันขณะทำกลุ่ม
เพื่อเป็นตัวแทนเมื่อนักบำบัดไม่ว่าง
- เนื้อหา/ใบความรู้ประกอบการทำกลุ่มสนับสนุนทางสังคม
(โดยสำรวจจากสภาพปัญหาผู้ป่วยหลังจบโปรแกรมพบได้บ่อย ๆ )
|
ความเห็น
ยังไม่มีความเห็น