การดูแลผู้ป่วยสุรา


การนำความรู้จากทฤษฎีมาต่อยอดทางการปฏิบัติ

     จากการประชุมทีมสหวิชาชีพการดูแลผู้ป่วยสุรา พบว่าสมาชิกทุกคนมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยสุรา สมาชิกหลายคนได้ไปค้นค้วางานวิจัยทั้งในและต่างประเทศมาพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กัน ซึ่งอาจเรียกง่ายๆ ว่า เป็นการนำความรู้จากทฤษฎีมาต่อยอดทางการปฏิบัตินับว่าเป็นแนวทางพัฒนางานที่งดงาม พอสุรปคร่าวๆได้ว่า เมื่อผู้ป่วยสุรา เดินเข้ามาในสถาบันธัญญารักษ์แล้วจะได้รับการบริการดังนี้

                                                    ผู้ดื่มสุรา

                     มีการคัดกรอง เพื่อจำแนกประเภทการดื่มสุรา  โดย AUDIT  Test

         กลุ่มที่ 1                          กลุ่มที่ 2                                  กลุ่มที่ 3

       Hazardous                        Harmful                         Alcohol  Dependence

       บำบัดโดย                         บำบัดโดย          บำบัดแบบผู้ป่วยนอก     บำบัดแบบผู้ป่วยใน

  BA.  BI. 1 - 3 Wk.                MI. 4 - 8 Wk.              12  Wk.                     12 Wk.

       หลังจากการทำการบำบัดฟื้นฟูแล้ว ยังมีการติดตามหลังการรักษา 7 - 12 ครั้งใน 1 ปีด้วยซึ่งวิธีการติดตาม ใช้ การสนับสนุนทางสังคม (Social Support) การสันสนุนจากครอบครัว (Family Support) และกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (Alcohol  Anonymous:AA)

หมายเหตุ    Brief  Advice (BA.)  Brief  Interview (BI.)  Motivation  Interview (MI.) เป็นเทคนิคการช่วยเหลือผู้ป่วยเสพติดโดยผู้บำบัดที่ผ่านการฝึกอบรมจนเกิดทักษะในการให้บริการ

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 21753เขียนเมื่อ 30 มีนาคม 2006 14:45 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 07:48 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท