การละเมิดสิทธิเด็ก


การละเมิดสิทธิเด็กในประเทศไทย

  

      ประเทศไทยได้เข้าร่วมใน อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก  ซึ่งอนุสัญญานี้ในส่วนที่1ได้กำหนดถึงสิทธิที่เด็กจะได้รับและมาตรฐานการคุ้มครองเด็ก

พิจารณา ว่า ตามหลักการที่ประกาศในกฎบัตรสหประชาชาตินั้น การยอมรับในศักดิ์ศรีแต่กำเนิดและสิทธิที่เท่าเทียมกัน ซึ่งไม่อาจเพิกถอนได้ของสมาชิกทั้งปวงของมวลมนุษยชาตินั้น เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในโลก

คำนึงถึง ว่า บรรดาประชาชนแห่งสหประชาชาติ ได้ยืนยันไว้ในกฎบัตรถึง ความศรัทธาต่อสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานต่อศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษย์ และได้ตั้งเจตจำนงที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมและมาตรฐานแห่งชีวิตที่ดีขึ้นภายใต้เสรีภาพที่กว้างขวางขึ้น

ยอมรับ ว่า สหประชาชาติได้ประกาศ และตกลงในปฎิญญาและกติกาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า
ทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพทั้งปวงที่กำหนดไว้ โดยปราศจากการแบ่งแยกไม่ว่าชนิดใดๆ อาทิเช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น ต้นกำเนิดทางชาติหรือสังคม ทรัพย์สิน การเกิดหรือสถานะอื่น

ระลึก ว่า สหประชาชาติได้ประกาศในปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า เด็กมีสิทธิที่จะได้รับการดูแล และการช่วยเหลือเป็นพิเศษ

เชื่อ ว่า ครอบครัวในฐานะเป็นกลุ่มพื้นฐานของสังคมและเป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสำหรับการเจริญเติบโตและการอยู่ดีกินดีของสมาชิกทุกคนโดยเฉพาะเด็ก ควรจะได้รับการคุ้มครองและการช่วยเหลือที่
จำเป็น เพื่อที่จะความสามารถมีความรับผิดชอบในชุมชนของตนได้อย่างเต็มที่

ยอมรับ ว่า เพื่อให้เด็กพัฒนาบุคลิกภาพได้อย่างกลมกลืนและเต็มที่ เด็กควรเติบโตในสิ่งแวดล้อมของครอบครัว ในบรรยากาศแห่งความผาสุก ความรัก และความเข้าใจ

พิจารณา ว่า ควรเตรียมให้เด็กพร้อมอย่างเต็มที่ที่จะดำรงชีวิตเป็นของตัวของตัวเองในสังคม และควรเลี้ยงดูเด็กตามเจตนารมณ์แห่งอุดมคติที่ประกาศไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ โดยเฉพาะตามเจตนารมณ์แห่งสันติภาพ ศักดิ์ศรี ความอดกลั้น เสรีภาพ ความเสมอภาค และความเป็นเอกภาพ

คำนึงถึง ว่า ได้มีการระบุความจำเป็นที่จะขยายการดูแลโดยเฉพาะแก่เด็กในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.. 1924 และในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กซึ่งสมัชชาได้รับเอาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.. 1959 และได้มีการยอมรับในปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในกติกาสากลว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (โดยเฉพาะข้อ 23 และ 24) ในกติกาสากลว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (โดยเฉพาะข้อ 10) และในรัฐธรรมนูญและตราสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องของทบวงการชำนัญพิเศษ และองค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพของเด็ก

คำนึงถึง ว่า ตามที่ได้ระบุในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กนั้น เด็กโดยเหตุที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ทั้งร่างกายและจิต จึงต้องการการพิทักษ์และดูแลเป็นพิเศษ รวมถึงต้องการการคุ้มครองตามกฎหมายที่เหมาะสมทั้งก่อนและหลังการเกิด

ระลึก ว่า บทบัญญัติของปฎิญญาว่าด้วยหลักกฎหมายและสังคม อันเกี่ยวกับการคุ้มครองและสวัสดิภาพเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการอุปการะและการรับเป็นบุตรบุญธรรมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ กฎระเบียบมาตรฐานขั้นต่ำสุดของสหประชาชาติสำหรับการบริหารงานยุติธรรมแก่ผู้เยาว์ (กฎปักกิ่ง) และปฎิญญาว่าด้วยการคุ้มครองสตรีและเด็กในภาวะฉุกเฉิน และกรณีพิพาทกันด้วยอาวุธ

ยอมรับ ว่า ประเทศทั้งปวงในโลกมีเด็กที่ดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะที่ยากลำบากอย่างยิ่ง และเขาเหล่านั้นจำเป็นต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษ

พิจารณาตามสมควร ถึงความสำคัญของประเพณี และค่านิยมทางวัฒนธรรมของชนแต่ละกลุ่ม ที่มีต่อการคุ้มครองและพัฒนาการอย่างกลมกลืนของเด็ก

ยอมรับ ว่า ความสำคัญของความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของเด็กในทุกๆประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา

ได้ตกลงกัน ดังนี้

·       อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 1

·       อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 2

·       อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 3

ข้อที่ 1

เพื่อความมุ่งประสงค์แห่งอนุสัญญานี้ เด็กหมายถึง มนุษย์ทุกคนที่มีอายุต่ำกว่าสิบแปดปี เว้นแต่จะบรรลุนิติภาวะก่อนหน้านั้นตามกฎหมายที่ใช้บังคับแก่เด็กนั้น

ข้อที่ 3

1.       ในการกระทำทั้งปวงที่เกี่ยวกับเด็ก ไม่ว่าจะกระทำโดยสถาบันสังคมสงเคราะห์ของรัฐหรือเอกชน ศาลยุติธรรม หน่วยงานฝ่ายบริหาร หรือองค์กรนิติบัญญัติ ผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นลำดับแรก

ข้อที่ 6

1. รัฐภาคียอมรับว่า เด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวที่จะมีชีวิต

2. รัฐภาคีจะประกันอย่างเต็มที่เท่าที่จะทำได้ ให้มีการอยู่รอด และการพัฒนาของเด็ก

ข้อที่ 9

1.       รัฐภาคีจะประกันว่า เด็กจะไม่ถูกแยกจากบิดามารดาโดยขัดกับความประสงค์ของบิดามารดา เว้นแต่ในกรณีที่หน่วยงานที่มีอำนาจ ซึ่งอาจถูกทบทวนโดยทางศาลจะกำหนดตามกฎหมายและวิธีพิจารณาที่ใช้บังคับอยู่ว่า การแยกเช่นที่ว่านี้จำเป็นเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของเด็ก การกำหนดเช่นที่ว่านี้อาจจำเป็นในกรณีเฉพาะ เช่น ในกรณีที่เด็กถูกกระทำโดยมิชอบ หรือถูกทอดทิ้งละเลยโดยบิดามารดา หรือในกรณีที่บิดามารดาอยู่แยกกันและต้องมีการตัดสินว่าเด็กจะพำนักที่ใด

ข้อที่ 13

1.       เด็กจะมีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก สิทธินี้จะรวมถึงเสรีภาพที่จะแสวงหา ได้รับ หรือถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร และความคิดทุกลักษณะ โดยไม่ถูกจำกัดโดยเขตแดน ไม่ว่าจะโดยวาจา ลายลักษณ์อักษร หรือการตีพิมพ์ ในรูปศิลปะหรือผ่านสื่ออื่นใดตามที่เด็กเลือก

จากอนุสัญญาที่ยกมาเป็นตัวอย่างในข้างต้นนั้นเป็นการให้สิทธิแก่เด็กเพื่อให้เด็กได้รับความเป็นธรรมและได้รับการดูแลจากรัฐ

       ซึ่งการละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชนในสังคมไทยมีปรากฏการณ์ในหลายรูปแบบ ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาหลายทศวรรษและยังคงดำรงสืบเนื่องในสังคมไทย และมีแนวโน้มขยายความรุนแรงกว้างขวางขึ้นกับกลุ่มเด็กและเยาวชนต่างๆ

            ข้อมูลของกรมประชาสงเคราะห์ ปี 2545 พบว่าเด็กที่อยู่ในอายุ 1–14 ปี ประมาณ 6 ล้านคนอยู่ในครอบครัวที่ยากจน เด็กถูกทอดทิ้งมีจำนวนมากกว่าแสนคน เด็กกำพร้ามีจำนวนประมาณ 350,000 คน เด็กเร่ร่อน มีประมาณ 370,000 คน เด็กพิการทางกาย หรือทางจิตกว่า 400,000 คน เด็กชนเผ่าที่เป็นกลุ่มคนชายขอบกว่า 200,000 คนและ

        เด็กและเยาวชนที่ถูกทารุณเป็นเหยื่อของความขัดแย้งของครอบครัวและสังคม เด็ก 1 ใน 4 คนถูกทุบตีในบ้าน เท่าที่พบเด็กถูกทารุณอายุน้อยที่สุด 24 วัน ผู้กระทำในครอบครัวจะเคยพบเห็นและยอมรับการกระทำทารุณว่า ตนเองจะตบตีภรรยาหากกระทำตัวไม่ดี ส่วนเด็กที่ถูกกระทำทางเพศมีแนวโน้มอายุน้อยลง และผู้กระทำก็มีอายุน้อยลงน้อย ยังมีการละเลยไม่ช่วยเหลือเด็กจากสังคมเมื่อพบเห็นเด็กที่ถูกกระทำทารุณ

           เด็กถูกละเมิดจากการถูกกระทำคือการที่เด็กถูกปล่อยปะละเลยหรือถูกทอดทิ้ง ให้ตกอยู่ในภาวะอันตรายรวมทั้งถูกทำร้ายทุบตี ทารุณ ถูกทำร้ายร่างกาย ทางจิตใจ หรือถูกล่วงเกินทางเพศจากบุคคลในสังคมแวดล้อมหรือแม้แต่บุคคลภายนอกนอกจากนี้ปัญหาการกระทำทารุณต่อแรงงานเด็ก อาจออกมาในรูปแบบการถูกใช้แรงงานหนัก เด็กถูกนายจ้างทุบตี  ทำร้าย  และข่มขืน  เด็กกลุ่มนี้เป็นเด็กที่อยู่ในภาวะเสี่ยงมาตั้งแต่แรกแล้ว

         จากข้อมูลข้างต้นนั้นข้าพเจ้าเห็นว่าในประเทศไทยมีการละเมิดสิทธิเด็กอย่างมาก  ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกรณีการใช้แรงงานเด็กและการทารุณเด็ก การที่มีการใช้แรงงานเด็กนั้นเป็นผลประโยชน์ที่เจ้าของกิจการได้รับเนื่องจากเด็กยังมีวุฒิภาวะน้อย การที่นายจ้างจะใช้แรงงานนั้นก็จะทำได้ง่ายกว่าแรงงานผู้ใหญ่  การที่นายจ้างข่มขู่ว่าถ้าหากไม่ทำก็จะให้อดอาหารหรือมีการทำร้ายร่างกายเนื่องจากเด็กไม่ทำงานนั้น พวกเด็กผู้ใช้แรงงานก็ไม่อาจจะตอบโต้นายจ้างได้เลย และนอกจากการใช้แรงงานเด็กก็ยังมีการทารุนเด็กอีก ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นการกระทำทารุนจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองก็ตามแต่การทำร้ายร่างกายและจิตใจของเด็กนั้นก็ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิเด็กเช่นกัน  ส่วนใหญ่ในสังคมไทยนั้นจะคิดว่าการที่ทุบตีบุตรนั้นไม่เป็นความผิดเพราะตนเป็นผู้ดูแลบุตร ถ้าหากเป็นการตีเพื่อสั่งสอนก็อาจจะไม่ผิด แต่การทารุนหรือทุบตีทำร้ายร่างกายอย่างสาหัสนั้นถึงจะเป็นการกระทำโดยบิดามารดาหรือผู้ปกครองก็ถือเป็นการละเมิดต่อเด็กทั้งสิ้น  ในประเทศไทยเรานั้นมีการทารุนเด็กละใช้แรงงานเด็กมากในสังคมชนชั้นกรรมกร เนื่องจากบุคคลพวกนี้เป็นคนหาเช้ากินค่ำ ที่อยู่อาศัยก็อาจจะไม่ดีนักและบวกกับภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ทำให้คนพวกนี้จะต้องหาวิธีเลี้ยงชีพในทางอื่นโดยการที่นำเด็กออกมาขอทานบ้าง หรือใช้ให้ไปขายของเวลากลางคืน หรือถ้าเป็นเด็กผู้หญิงก็จะให้ไปขายบริการเพื่อนำเงินมาใช้จ่าย  

        ดังนั้นถึงแม้ประเทศไทยจะมีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก หรือจะมีองค์กรต่างๆที่ดูแลเด็กๆหรือมีการบังคับใช้กฎหมายต่างๆก็ไม่อาจทำให้แรงงานเด็กหรือการละเมิดสิทธิเด็กนั้นลดน้อยลงไปได้เลย ถ้าหากไม่มีการผลักดันการใช้กฎหมายนั้นๆหรือองค์กรต่างๆอย่างจริงจังแล้ว อนาคตของชาติเราจะเป็นอย่างไร ในวันนี้ผู้ใหญ่อย่างเราต้องช่วยกันคิดแล้วล่ะค่ะ

 

 

 

 

ขอขอบคุณข้อมูล            www.thailandkid.com

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 206249เขียนเมื่อ 6 กันยายน 2008 05:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 00:00 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)
  • ขอบคุณค่ะ  ความรู้ที่นำมาให้อ่าน
  • จำเป็นต้องรู้  เพราะ  ทำงานอยู่กับเด็กค่ะ

ขอบคุณอีกครั้งค่ะ

ประเทศไทยได้เข้าร่วมใน อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งอนุสัญญานี้ในส่วนที่1ได้กำหนดถึงสิทธิที่เด็กจะได้รับและมาตรฐานการคุ้มครองเด็ก

พิจารณา ว่า ตามหลักการที่ประกาศในกฎบัตรสหประชาชาตินั้น การยอมรับในศักดิ์ศรีแต่กำเนิดและสิทธิที่เท่าเทียมกัน ซึ่งไม่อาจเพิกถอนได้ของสมาชิกทั้งปวงของมวลมนุษยชาตินั้น เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในโลก

คำนึงถึง ว่า บรรดาประชาชนแห่งสหประชาชาติ ได้ยืนยันไว้ในกฎบัตรถึง ความศรัทธาต่อสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานต่อศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษย์ และได้ตั้งเจตจำนงที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมและมาตรฐานแห่งชีวิตที่ดีขึ้นภายใต้เสรีภาพที่กว้างขวางขึ้น

ยอมรับ ว่า สหประชาชาติได้ประกาศ และตกลงในปฎิญญาและกติกาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า

ทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพทั้งปวงที่กำหนดไว้ โดยปราศจากการแบ่งแยกไม่ว่าชนิดใดๆ อาทิเช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น ต้นกำเนิดทางชาติหรือสังคม ทรัพย์สิน การเกิดหรือสถานะอื่น

ระลึก ว่า สหประชาชาติได้ประกาศในปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า เด็กมีสิทธิที่จะได้รับการดูแล และการช่วยเหลือเป็นพิเศษ

เชื่อ ว่า ครอบครัวในฐานะเป็นกลุ่มพื้นฐานของสังคมและเป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสำหรับการเจริญเติบโตและการอยู่ดีกินดีของสมาชิกทุกคนโดยเฉพาะเด็ก ควรจะได้รับการคุ้มครองและการช่วยเหลือที่

จำเป็น เพื่อที่จะความสามารถมีความรับผิดชอบในชุมชนของตนได้อย่างเต็มที่

ยอมรับ ว่า เพื่อให้เด็กพัฒนาบุคลิกภาพได้อย่างกลมกลืนและเต็มที่ เด็กควรเติบโตในสิ่งแวดล้อมของครอบครัว ในบรรยากาศแห่งความผาสุก ความรัก และความเข้าใจ

พิจารณา ว่า ควรเตรียมให้เด็กพร้อมอย่างเต็มที่ที่จะดำรงชีวิตเป็นของตัวของตัวเองในสังคม และควรเลี้ยงดูเด็กตามเจตนารมณ์แห่งอุดมคติที่ประกาศไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ โดยเฉพาะตามเจตนารมณ์แห่งสันติภาพ ศักดิ์ศรี ความอดกลั้น เสรีภาพ ความเสมอภาค และความเป็นเอกภาพ

คำนึงถึง ว่า ได้มีการระบุความจำเป็นที่จะขยายการดูแลโดยเฉพาะแก่เด็กในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ. 1924 และในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กซึ่งสมัชชาได้รับเอาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959 และได้มีการยอมรับในปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในกติกาสากลว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (โดยเฉพาะข้อ 23 และ 24) ในกติกาสากลว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (โดยเฉพาะข้อ 10) และในรัฐธรรมนูญและตราสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องของทบวงการชำนัญพิเศษ และองค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพของเด็ก

คำนึงถึง ว่า ตามที่ได้ระบุในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กนั้น เด็กโดยเหตุที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ทั้งร่างกายและจิต จึงต้องการการพิทักษ์และดูแลเป็นพิเศษ รวมถึงต้องการการคุ้มครองตามกฎหมายที่เหมาะสมทั้งก่อนและหลังการเกิด

ระลึก ว่า บทบัญญัติของปฎิญญาว่าด้วยหลักกฎหมายและสังคม อันเกี่ยวกับการคุ้มครองและสวัสดิภาพเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการอุปการะและการรับเป็นบุตรบุญธรรมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ กฎระเบียบมาตรฐานขั้นต่ำสุดของสหประชาชาติสำหรับการบริหารงานยุติธรรมแก่ผู้เยาว์ (กฎปักกิ่ง) และปฎิญญาว่าด้วยการคุ้มครองสตรีและเด็กในภาวะฉุกเฉิน และกรณีพิพาทกันด้วยอาวุธ

ยอมรับ ว่า ประเทศทั้งปวงในโลกมีเด็กที่ดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะที่ยากลำบากอย่างยิ่ง และเขาเหล่านั้นจำเป็นต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษ

พิจารณาตามสมควร ถึงความสำคัญของประเพณี และค่านิยมทางวัฒนธรรมของชนแต่ละกลุ่ม ที่มีต่อการคุ้มครองและพัฒนาการอย่างกลมกลืนของเด็ก

ยอมรับ ว่า ความสำคัญของความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของเด็กในทุกๆประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา

ได้ตกลงกัน ดังนี้

· อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 1

· อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 2

· อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 3

ข้อที่ 1

เพื่อความมุ่งประสงค์แห่งอนุสัญญานี้ เด็กหมายถึง มนุษย์ทุกคนที่มีอายุต่ำกว่าสิบแปดปี เว้นแต่จะบรรลุนิติภาวะก่อนหน้านั้นตามกฎหมายที่ใช้บังคับแก่เด็กนั้น

ข้อที่ 3

1. ในการกระทำทั้งปวงที่เกี่ยวกับเด็ก ไม่ว่าจะกระทำโดยสถาบันสังคมสงเคราะห์ของรัฐหรือเอกชน ศาลยุติธรรม หน่วยงานฝ่ายบริหาร หรือองค์กรนิติบัญญัติ ผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นลำดับแรก

ข้อที่ 6

1. รัฐภาคียอมรับว่า เด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวที่จะมีชีวิต

2. รัฐภาคีจะประกันอย่างเต็มที่เท่าที่จะทำได้ ให้มีการอยู่รอด และการพัฒนาของเด็ก

ข้อที่ 9

1. รัฐภาคีจะประกันว่า เด็กจะไม่ถูกแยกจากบิดามารดาโดยขัดกับความประสงค์ของบิดามารดา เว้นแต่ในกรณีที่หน่วยงานที่มีอำนาจ ซึ่งอาจถูกทบทวนโดยทางศาลจะกำหนดตามกฎหมายและวิธีพิจารณาที่ใช้บังคับอยู่ว่า การแยกเช่นที่ว่านี้จำเป็นเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของเด็ก การกำหนดเช่นที่ว่านี้อาจจำเป็นในกรณีเฉพาะ เช่น ในกรณีที่เด็กถูกกระทำโดยมิชอบ หรือถูกทอดทิ้งละเลยโดยบิดามารดา หรือในกรณีที่บิดามารดาอยู่แยกกันและต้องมีการตัดสินว่าเด็กจะพำนักที่ใด

ข้อที่ 13

1. เด็กจะมีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก สิทธินี้จะรวมถึงเสรีภาพที่จะแสวงหา ได้รับ หรือถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร และความคิดทุกลักษณะ โดยไม่ถูกจำกัดโดยเขตแดน ไม่ว่าจะโดยวาจา ลายลักษณ์อักษร หรือการตีพิมพ์ ในรูปศิลปะหรือผ่านสื่ออื่นใดตามที่เด็กเลือก

จากอนุสัญญาที่ยกมาเป็นตัวอย่างในข้างต้นนั้นเป็นการให้สิทธิแก่เด็กเพื่อให้เด็กได้รับความเป็นธรรมและได้รับการดูแลจากรัฐ

ซึ่งการละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชนในสังคมไทยมีปรากฏการณ์ในหลายรูปแบบ ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาหลายทศวรรษและยังคงดำรงสืบเนื่องในสังคมไทย และมีแนวโน้มขยายความรุนแรงกว้างขวางขึ้นกับกลุ่มเด็กและเยาวชนต่างๆ

ข้อมูลของกรมประชาสงเคราะห์ ปี 2545 พบว่าเด็กที่อยู่ในอายุ 1–14 ปี ประมาณ 6 ล้านคนอยู่ในครอบครัวที่ยากจน เด็กถูกทอดทิ้งมีจำนวนมากกว่าแสนคน เด็กกำพร้ามีจำนวนประมาณ 350,000 คน เด็กเร่ร่อน มีประมาณ 370,000 คน เด็กพิการทางกาย หรือทางจิตกว่า 400,000 คน เด็กชนเผ่าที่เป็นกลุ่มคนชายขอบกว่า 200,000 คนและ

เด็กและเยาวชนที่ถูกทารุณเป็นเหยื่อของความขัดแย้งของครอบครัวและสังคม เด็ก 1 ใน 4 คนถูกทุบตีในบ้าน เท่าที่พบเด็กถูกทารุณอายุน้อยที่สุด 24 วัน ผู้กระทำในครอบครัวจะเคยพบเห็นและยอมรับการกระทำทารุณว่า ตนเองจะตบตีภรรยาหากกระทำตัวไม่ดี ส่วนเด็กที่ถูกกระทำทางเพศมีแนวโน้มอายุน้อยลง และผู้กระทำก็มีอายุน้อยลงน้อย ยังมีการละเลยไม่ช่วยเหลือเด็กจากสังคมเมื่อพบเห็นเด็กที่ถูกกระทำทารุณ

เด็กถูกละเมิดจากการถูกกระทำคือการที่เด็กถูกปล่อยปะละเลยหรือถูกทอดทิ้ง ให้ตกอยู่ในภาวะอันตรายรวมทั้งถูกทำร้ายทุบตี ทารุณ ถูกทำร้ายร่างกาย ทางจิตใจ หรือถูกล่วงเกินทางเพศจากบุคคลในสังคมแวดล้อมหรือแม้แต่บุคคลภายนอกนอกจากนี้ปัญหาการกระทำทารุณต่อแรงงานเด็ก อาจออกมาในรูปแบบการถูกใช้แรงงานหนัก เด็กถูกนายจ้างทุบตี ทำร้าย และข่มขืน เด็กกลุ่มนี้เป็นเด็กที่อยู่ในภาวะเสี่ยงมาตั้งแต่แรกแล้ว

จากข้อมูลข้างต้นนั้นข้าพเจ้าเห็นว่าในประเทศไทยมีการละเมิดสิทธิเด็กอย่างมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกรณีการใช้แรงงานเด็กและการทารุณเด็ก การที่มีการใช้แรงงานเด็กนั้นเป็นผลประโยชน์ที่เจ้าของกิจการได้รับเนื่องจากเด็กยังมีวุฒิภาวะน้อย การที่นายจ้างจะใช้แรงงานนั้นก็จะทำได้ง่ายกว่าแรงงานผู้ใหญ่ การที่นายจ้างข่มขู่ว่าถ้าหากไม่ทำก็จะให้อดอาหารหรือมีการทำร้ายร่างกายเนื่องจากเด็กไม่ทำงานนั้น พวกเด็กผู้ใช้แรงงานก็ไม่อาจจะตอบโต้นายจ้างได้เลย และนอกจากการใช้แรงงานเด็กก็ยังมีการทารุนเด็กอีก ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นการกระทำทารุนจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองก็ตามแต่การทำร้ายร่างกายและจิตใจของเด็กนั้นก็ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิเด็กเช่นกัน ส่วนใหญ่ในสังคมไทยนั้นจะคิดว่าการที่ทุบตีบุตรนั้นไม่เป็นความผิดเพราะตนเป็นผู้ดูแลบุตร ถ้าหากเป็นการตีเพื่อสั่งสอนก็อาจจะไม่ผิด แต่การทารุนหรือทุบตีทำร้ายร่างกายอย่างสาหัสนั้นถึงจะเป็นการกระทำโดยบิดามารดาหรือผู้ปกครองก็ถือเป็นการละเมิดต่อเด็กทั้งสิ้น ในประเทศไทยเรานั้นมีการทารุนเด็กละใช้แรงงานเด็กมากในสังคมชนชั้นกรรมกร เนื่องจากบุคคลพวกนี้เป็นคนหาเช้ากินค่ำ ที่อยู่อาศัยก็อาจจะไม่ดีนักและบวกกับภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ทำให้คนพวกนี้จะต้องหาวิธีเลี้ยงชีพในทางอื่นโดยการที่นำเด็กออกมาขอทานบ้าง หรือใช้ให้ไปขายของเวลากลางคืน หรือถ้าเป็นเด็กผู้หญิงก็จะให้ไปขายบริการเพื่อนำเงินมาใช้จ่าย

ดังนั้นถึงแม้ประเทศไทยจะมีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก หรือจะมีองค์กรต่างๆที่ดูแลเด็กๆหรือมีการบังคับใช้กฎหมายต่างๆก็ไม่อาจทำให้แรงงานเด็กหรือการละเมิดสิทธิเด็กนั้นลดน้อยลงไปได้เลย ถ้าหากไม่มีการผลักดันการใช้กฎหมายนั้นๆหรือองค์กรต่างๆอย่างจริงจังแล้ว อนาคตของชาติเราจะเป็นอย่างไร ในวันนี้ผู้ใหญ่อย่างเราต้องช่วยกันคิดแล้วล่ะค่ะ

ประเทศไทยได้เข้าร่วมใน อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งอนุสัญญานี้ในส่วนที่1ได้กำหนดถึงสิทธิที่เด็กจะได้รับและมาตรฐานการคุ้มครองเด็ก

พิจารณา ว่า ตามหลักการที่ประกาศในกฎบัตรสหประชาชาตินั้น การยอมรับในศักดิ์ศรีแต่กำเนิดและสิทธิที่เท่าเทียมกัน ซึ่งไม่อาจเพิกถอนได้ของสมาชิกทั้งปวงของมวลมนุษยชาตินั้น เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในโลก

คำนึงถึง ว่า บรรดาประชาชนแห่งสหประชาชาติ ได้ยืนยันไว้ในกฎบัตรถึง ความศรัทธาต่อสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานต่อศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษย์ และได้ตั้งเจตจำนงที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมและมาตรฐานแห่งชีวิตที่ดีขึ้นภายใต้เสรีภาพที่กว้างขวางขึ้น

ยอมรับ ว่า สหประชาชาติได้ประกาศ และตกลงในปฎิญญาและกติกาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า

ทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพทั้งปวงที่กำหนดไว้ โดยปราศจากการแบ่งแยกไม่ว่าชนิดใดๆ อาทิเช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น ต้นกำเนิดทางชาติหรือสังคม ทรัพย์สิน การเกิดหรือสถานะอื่น

ระลึก ว่า สหประชาชาติได้ประกาศในปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า เด็กมีสิทธิที่จะได้รับการดูแล และการช่วยเหลือเป็นพิเศษ

เชื่อ ว่า ครอบครัวในฐานะเป็นกลุ่มพื้นฐานของสังคมและเป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสำหรับการเจริญเติบโตและการอยู่ดีกินดีของสมาชิกทุกคนโดยเฉพาะเด็ก ควรจะได้รับการคุ้มครองและการช่วยเหลือที่

จำเป็น เพื่อที่จะความสามารถมีความรับผิดชอบในชุมชนของตนได้อย่างเต็มที่

ยอมรับ ว่า เพื่อให้เด็กพัฒนาบุคลิกภาพได้อย่างกลมกลืนและเต็มที่ เด็กควรเติบโตในสิ่งแวดล้อมของครอบครัว ในบรรยากาศแห่งความผาสุก ความรัก และความเข้าใจ

พิจารณา ว่า ควรเตรียมให้เด็กพร้อมอย่างเต็มที่ที่จะดำรงชีวิตเป็นของตัวของตัวเองในสังคม และควรเลี้ยงดูเด็กตามเจตนารมณ์แห่งอุดมคติที่ประกาศไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ โดยเฉพาะตามเจตนารมณ์แห่งสันติภาพ ศักดิ์ศรี ความอดกลั้น เสรีภาพ ความเสมอภาค และความเป็นเอกภาพ

คำนึงถึง ว่า ได้มีการระบุความจำเป็นที่จะขยายการดูแลโดยเฉพาะแก่เด็กในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ. 1924 และในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กซึ่งสมัชชาได้รับเอาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959 และได้มีการยอมรับในปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในกติกาสากลว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (โดยเฉพาะข้อ 23 และ 24) ในกติกาสากลว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (โดยเฉพาะข้อ 10) และในรัฐธรรมนูญและตราสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องของทบวงการชำนัญพิเศษ และองค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพของเด็ก

คำนึงถึง ว่า ตามที่ได้ระบุในปฎิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กนั้น เด็กโดยเหตุที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ทั้งร่างกายและจิต จึงต้องการการพิทักษ์และดูแลเป็นพิเศษ รวมถึงต้องการการคุ้มครองตามกฎหมายที่เหมาะสมทั้งก่อนและหลังการเกิด

ระลึก ว่า บทบัญญัติของปฎิญญาว่าด้วยหลักกฎหมายและสังคม อันเกี่ยวกับการคุ้มครองและสวัสดิภาพเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการอุปการะและการรับเป็นบุตรบุญธรรมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ กฎระเบียบมาตรฐานขั้นต่ำสุดของสหประชาชาติสำหรับการบริหารงานยุติธรรมแก่ผู้เยาว์ (กฎปักกิ่ง) และปฎิญญาว่าด้วยการคุ้มครองสตรีและเด็กในภาวะฉุกเฉิน และกรณีพิพาทกันด้วยอาวุธ

ยอมรับ ว่า ประเทศทั้งปวงในโลกมีเด็กที่ดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะที่ยากลำบากอย่างยิ่ง และเขาเหล่านั้นจำเป็นต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษ

พิจารณาตามสมควร ถึงความสำคัญของประเพณี และค่านิยมทางวัฒนธรรมของชนแต่ละกลุ่ม ที่มีต่อการคุ้มครองและพัฒนาการอย่างกลมกลืนของเด็ก

ยอมรับ ว่า ความสำคัญของความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของเด็กในทุกๆประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา

ได้ตกลงกัน ดังนี้

· อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 1

· อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 2

· อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 3

ข้อที่ 1

เพื่อความมุ่งประสงค์แห่งอนุสัญญานี้ เด็กหมายถึง มนุษย์ทุกคนที่มีอายุต่ำกว่าสิบแปดปี เว้นแต่จะบรรลุนิติภาวะก่อนหน้านั้นตามกฎหมายที่ใช้บังคับแก่เด็กนั้น

ข้อที่ 3

1. ในการกระทำทั้งปวงที่เกี่ยวกับเด็ก ไม่ว่าจะกระทำโดยสถาบันสังคมสงเคราะห์ของรัฐหรือเอกชน ศาลยุติธรรม หน่วยงานฝ่ายบริหาร หรือองค์กรนิติบัญญัติ ผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นลำดับแรก

ข้อที่ 6

1. รัฐภาคียอมรับว่า เด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวที่จะมีชีวิต

2. รัฐภาคีจะประกันอย่างเต็มที่เท่าที่จะทำได้ ให้มีการอยู่รอด และการพัฒนาของเด็ก

ข้อที่ 9

1. รัฐภาคีจะประกันว่า เด็กจะไม่ถูกแยกจากบิดามารดาโดยขัดกับความประสงค์ของบิดามารดา เว้นแต่ในกรณีที่หน่วยงานที่มีอำนาจ ซึ่งอาจถูกทบทวนโดยทางศาลจะกำหนดตามกฎหมายและวิธีพิจารณาที่ใช้บังคับอยู่ว่า การแยกเช่นที่ว่านี้จำเป็นเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของเด็ก การกำหนดเช่นที่ว่านี้อาจจำเป็นในกรณีเฉพาะ เช่น ในกรณีที่เด็กถูกกระทำโดยมิชอบ หรือถูกทอดทิ้งละเลยโดยบิดามารดา หรือในกรณีที่บิดามารดาอยู่แยกกันและต้องมีการตัดสินว่าเด็กจะพำนักที่ใด

ข้อที่ 13

1. เด็กจะมีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก สิทธินี้จะรวมถึงเสรีภาพที่จะแสวงหา ได้รับ หรือถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร และความคิดทุกลักษณะ โดยไม่ถูกจำกัดโดยเขตแดน ไม่ว่าจะโดยวาจา ลายลักษณ์อักษร หรือการตีพิมพ์ ในรูปศิลปะหรือผ่านสื่ออื่นใดตามที่เด็กเลือก

จากอนุสัญญาที่ยกมาเป็นตัวอย่างในข้างต้นนั้นเป็นการให้สิทธิแก่เด็กเพื่อให้เด็กได้รับความเป็นธรรมและได้รับการดูแลจากรัฐ

ซึ่งการละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชนในสังคมไทยมีปรากฏการณ์ในหลายรูปแบบ ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาหลายทศวรรษและยังคงดำรงสืบเนื่องในสังคมไทย และมีแนวโน้มขยายความรุนแรงกว้างขวางขึ้นกับกลุ่มเด็กและเยาวชนต่างๆ

ข้อมูลของกรมประชาสงเคราะห์ ปี 2545 พบว่าเด็กที่อยู่ในอายุ 1–14 ปี ประมาณ 6 ล้านคนอยู่ในครอบครัวที่ยากจน เด็กถูกทอดทิ้งมีจำนวนมากกว่าแสนคน เด็กกำพร้ามีจำนวนประมาณ 350,000 คน เด็กเร่ร่อน มีประมาณ 370,000 คน เด็กพิการทางกาย หรือทางจิตกว่า 400,000 คน เด็กชนเผ่าที่เป็นกลุ่มคนชายขอบกว่า 200,000 คนและ

เด็กและเยาวชนที่ถูกทารุณเป็นเหยื่อของความขัดแย้งของครอบครัวและสังคม เด็ก 1 ใน 4 คนถูกทุบตีในบ้าน เท่าที่พบเด็กถูกทารุณอายุน้อยที่สุด 24 วัน ผู้กระทำในครอบครัวจะเคยพบเห็นและยอมรับการกระทำทารุณว่า ตนเองจะตบตีภรรยาหากกระทำตัวไม่ดี ส่วนเด็กที่ถูกกระทำทางเพศมีแนวโน้มอายุน้อยลง และผู้กระทำก็มีอายุน้อยลงน้อย ยังมีการละเลยไม่ช่วยเหลือเด็กจากสังคมเมื่อพบเห็นเด็กที่ถูกกระทำทารุณ

เด็กถูกละเมิดจากการถูกกระทำคือการที่เด็กถูกปล่อยปะละเลยหรือถูกทอดทิ้ง ให้ตกอยู่ในภาวะอันตรายรวมทั้งถูกทำร้ายทุบตี ทารุณ ถูกทำร้ายร่างกาย ทางจิตใจ หรือถูกล่วงเกินทางเพศจากบุคคลในสังคมแวดล้อมหรือแม้แต่บุคคลภายนอกนอกจากนี้ปัญหาการกระทำทารุณต่อแรงงานเด็ก อาจออกมาในรูปแบบการถูกใช้แรงงานหนัก เด็กถูกนายจ้างทุบตี ทำร้าย และข่มขืน เด็กกลุ่มนี้เป็นเด็กที่อยู่ในภาวะเสี่ยงมาตั้งแต่แรกแล้ว

จากข้อมูลข้างต้นนั้นข้าพเจ้าเห็นว่าในประเทศไทยมีการละเมิดสิทธิเด็กอย่างมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกรณีการใช้แรงงานเด็กและการทารุณเด็ก การที่มีการใช้แรงงานเด็กนั้นเป็นผลประโยชน์ที่เจ้าของกิจการได้รับเนื่องจากเด็กยังมีวุฒิภาวะน้อย การที่นายจ้างจะใช้แรงงานนั้นก็จะทำได้ง่ายกว่าแรงงานผู้ใหญ่ การที่นายจ้างข่มขู่ว่าถ้าหากไม่ทำก็จะให้อดอาหารหรือมีการทำร้ายร่างกายเนื่องจากเด็กไม่ทำงานนั้น พวกเด็กผู้ใช้แรงงานก็ไม่อาจจะตอบโต้นายจ้างได้เลย และนอกจากการใช้แรงงานเด็กก็ยังมีการทารุนเด็กอีก ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นการกระทำทารุนจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองก็ตามแต่การทำร้ายร่างกายและจิตใจของเด็กนั้นก็ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิเด็กเช่นกัน ส่วนใหญ่ในสังคมไทยนั้นจะคิดว่าการที่ทุบตีบุตรนั้นไม่เป็นความผิดเพราะตนเป็นผู้ดูแลบุตร ถ้าหากเป็นการตีเพื่อสั่งสอนก็อาจจะไม่ผิด แต่การทารุนหรือทุบตีทำร้ายร่างกายอย่างสาหัสนั้นถึงจะเป็นการกระทำโดยบิดามารดาหรือผู้ปกครองก็ถือเป็นการละเมิดต่อเด็กทั้งสิ้น ในประเทศไทยเรานั้นมีการทารุนเด็กละใช้แรงงานเด็กมากในสังคมชนชั้นกรรมกร เนื่องจากบุคคลพวกนี้เป็นคนหาเช้ากินค่ำ ที่อยู่อาศัยก็อาจจะไม่ดีนักและบวกกับภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ทำให้คนพวกนี้จะต้องหาวิธีเลี้ยงชีพในทางอื่นโดยการที่นำเด็กออกมาขอทานบ้าง หรือใช้ให้ไปขายของเวลากลางคืน หรือถ้าเป็นเด็กผู้หญิงก็จะให้ไปขายบริการเพื่อนำเงินมาใช้จ่าย

ดังนั้นถึงแม้ประเทศไทยจะมีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก หรือจะมีองค์กรต่างๆที่ดูแลเด็กๆหรือมีการบังคับใช้กฎหมายต่างๆก็ไม่อาจทำให้แรงงานเด็กหรือการละเมิดสิทธิเด็กนั้นลดน้อยลงไปได้เลย ถ้าหากไม่มีการผลักดันการใช้กฎหมายนั้นๆหรือองค์กรต่างๆอย่างจริงจังแล้ว อนาคตของชาติเราจะเป็นอย่างไร ในวันนี้ผู้ใหญ่อย่างเราต้องช่วยกันคิดแล้วล่ะค่ะ

ไม่มีรูปให้ฉันทำงานวิขาสังคมเลย

ไม่มีอะไรให้ทำสังคมเลย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท