ผู้บริหารคือผู้นำการเปลี่ยนแปลง


"ผู้นำการเปลี่ยนแปลงต้อง รอบรู้มองไกล เปิดใจกว้าง สร้างความร่วมมือ และยึดถือผลสำเร็จ"
มีคำหลายคำสำหรับผู้บริหารที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง  เช่น  วางแผนกลยุทธ์  มองทุกอย่างรอบด้าน  เทียบงานเทียบคน  จิตมุ่งบริการ  กล้าตัดสินใจ  คิดใช้กลยุทธ์  นำคนนำงาน  ใช้ ICTเป็น  ปรับตัวยืดหยุ่น  มุ่งการสื่อสาร  ประสานสัมพันธ์  ร่วมกันทุกฝ่าย  มุ่งผลสัมฤทธิ์  จัดการทรัพยากร  coaching  ฯลฯ  ดูแล้วก็เป็นวิชาการดี  แต่หลายท่านอาจมีเทคนิคการบริหารของตน  หรือบูรณาการคำเหล่านี้ไปใช้แล้วประสบผลสำเร็จในสถานการณ์ต่างๆมาแล้ว....เล่าให้ฟังหน่อยสิ
หมายเลขบันทึก: 18032เขียนเมื่อ 8 มีนาคม 2006 20:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 17:30 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)
      มารู้จักคำว่า SDU ที่กำลังพูดถึงกันมากหน่อยดีไหม? คำนี้ย่อมาจาก Service Deliverry Unit  แปลเป็นไทยว่า "หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของส่วนราชการเจ้าสังกัด แต่ไม่ใช่ส่วนราชการ (กระทรวง กรม กอง สำนักฯลฯ)  SDU สามารถกำหนดระเบียบวิธีการบริหารที่จะทำให้การทำงานเกิดความคล่องตัว โดยไม่ต้องยึดกับระเบียบที่ใช้อยู่ในส่วนราชการตามปกติ  ที่มีลักษณะกึ่งอิสระ  แต่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล  อาจบริหารในรูปกรรมการ  วางระเบียบปฏิบัติขึ้นมา  ส่วนราชการเจ้าสังกัดอาจตั้งงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุนเริ่มแรกได้   การจัดต้องขออนุญาต กพร.ก่อน เมื่อได้รับอนุมัติก็จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา  

- มีนาคม 2549





12 ข้อคิด เพื่อชีวิตที่พอเพียง

การนำพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯในเรื่อง "การใช้ชีวิตแบบพอเพียง" มาปรับใช้ให้เข้ากับชีวิตประจำวันของแต่ละคนนั้นมีหลากหลายวิธี ที่นำไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ให้เกิดความเหมาะสม E- Gpf News ได้นำเสนอข้อคิดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง

พอใจ : พอใจที่จะทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยใจรัก อย่างถูกต้องเหมาะสม
HAVING A HEART OF ZEAL BUT IN PROPER

พอดี : รู้จักประมาณ รู้จักพอดี กระทำการสิ่งใดต้องระลึกรู้ด้วยปัญญา
LIVING IN MODERATION

พอมี : เลี้ยงชีวิตให้พอมีอยู่เสมอ ไม่ประมาท มีความมั่นคง
LEADING A SECURE AND HEEDFUL LIFE

พออยู่ : ตั้งตนให้ถูกวิธี รู้จักดำรงชีวิตให้พออยู่ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน
BEING IN THE PRESENT

พอกิน : รู้จักประมาณในการกิน การใช้ ให้พอกิน สมควรแก่กาย และจิตใจผ่องใส
BALANCING ONE's BODY AND MIND

พอใช้ : รู้จักประหยัดอดออม ใช้จ่ายตามความเหมาะสม ไม่หลงในอบายมุข
BALANCING ONE'S BODY AND MIND

พอเหมาะ: รู้จักไตร่ตรอง ตามเหตุผล มีใจเป็นกลางอย่างมีสติ
KNOWING EQUANIMITY

พอควร : มีความเข้าใจในการดำเนินชีวิต ตามเหตุปัจจัย กระทำการสิ่งใดอย่าง พอสมควร ยึดมั่นอยู่ในธรรม
KNOWING PRINCIPLES, KNOWING CAUSES

พอรู้ : มีความเข้าใจและไตร่ตรองให้พอรู้ ถึงอายตนะ 6 มีสติ ไม่ยึดติด ไม่ให้เกิดกิเลส
PRACTISING MINDFULLNESS AND NON - ATTACHMENT

พอตัว : รู้จักก่อร่างสร้างตัว สร้างใจ ให้พอตัว เข้าใจในธรรมชาติ ( ไตรลักษณ์ - อนิจจัง - ทุกขัง - อนัตตา )
CULTIVATING FAITH ANDWISDOM IN THE LAW OF NATURE

พอตน : ฉลาดคิด รู้จักพิจารณา รู้จักตัวเอง มั่นคงอยู่ใน ศีล สมาธิ ปัญญา
FOLLOWING VIRTUOUS CONDUCT, MEDITATION, AND WISDOM

พอให้ : รู้จักเป็นผู้ให้ส่งผ่านความสุข ในการดำรงชีวิตชีวิตให้แก่ผู้อื่น เติบโตต่อไป
GIVING, BEING KIND, AND CONTRIBUTING TO SOCISL HARMONY

ข้อมูล : จากวาไรตี้ศรีรัช ฉบับที่ 42 ประจำเดือนกุมภาพันธ์

-----------------------------------------------------------------------------
หากท่านมีข้อสงสัยสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ :-
ศูนย์บริการข้อมูลสมาชิกโทร. 1179 กด 6 เพื่อติดต่อกับเจ้าหน้าที่โดยตรง
หรือ email: [email protected]
หรือฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์กบข. ตู้ปณ. 19 ปณฝ. กระทรวงการคลัง กรุงเทพฯ 10411
 
| |   Go to previous message | Go to next message | Delete | Inbox

12 ข้อคิด เพื่อชีวิตที่พอเพียง

การนำพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯในเรื่อง "การใช้ชีวิตแบบพอเพียง" มาปรับใช้ให้เข้ากับชีวิตประจำวันของแต่ละคนนั้นมีหลากหลายวิธี ที่นำไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ให้เกิดความเหมาะสม E- Gpf News ฉบับนี้จึงได้นำเสนอข้อคิดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง

พอใจ : พอใจที่จะทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยใจรัก อย่างถูกต้องเหมาะสม
HAVING A HEART OF ZEAL BUT IN PROPER

พอดี : รู้จักประมาณ รู้จักพอดี กระทำการสิ่งใดต้องระลึกรู้ด้วยปัญญา
LIVING IN MODERATION

พอมี : เลี้ยงชีวิตให้พอมีอยู่เสมอ ไม่ประมาท มีความมั่นคง
LEADING A SECURE AND HEEDFUL LIFE

พออยู่ : ตั้งตนให้ถูกวิธี รู้จักดำรงชีวิตให้พออยู่ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน
BEING IN THE PRESENT

พอกิน : รู้จักประมาณในการกิน การใช้ ให้พอกิน สมควรแก่กาย และจิตใจผ่องใส
BALANCING ONE's BODY AND MIND

พอใช้ : รู้จักประหยัดอดออม ใช้จ่ายตามความเหมาะสม ไม่หลงในอบายมุข
BALANCING ONE'S BODY AND MIND

พอเหมาะ: รู้จักไตร่ตรอง ตามเหตุผล มีใจเป็นกลางอย่างมีสติ
KNOWING EQUANIMITY

พอควร : มีความเข้าใจในการดำเนินชีวิต ตามเหตุปัจจัย กระทำการสิ่งใดอย่าง พอสมควร ยึดมั่นอยู่ในธรรม
KNOWING PRINCIPLES, KNOWING CAUSES

พอรู้ : มีความเข้าใจและไตร่ตรองให้พอรู้ ถึงอายตนะ 6 มีสติ ไม่ยึดติด ไม่ให้เกิดกิเลส
PRACTISING MINDFULLNESS AND NON - ATTACHMENT

พอตัว : รู้จักก่อร่างสร้างตัว สร้างใจ ให้พอตัว เข้าใจในธรรมชาติ ( ไตรลักษณ์ - อนิจจัง - ทุกขัง - อนัตตา )
CULTIVATING FAITH ANDWISDOM IN THE LAW OF NATURE

พอตน : ฉลาดคิด รู้จักพิจารณา รู้จักตัวเอง มั่นคงอยู่ใน ศีล สมาธิ ปัญญา
FOLLOWING VIRTUOUS CONDUCT, MEDITATION, AND WISDOM

พอให้ : รู้จักเป็นผู้ให้ส่งผ่านความสุข ในการดำรงชีวิตชีวิตให้แก่ผู้อื่น เติบโตต่อไป
GIVING, BEING KIND, AND CONTRIBUTING TO SOCISL HARMONY

ข้อมูล : จากวาไรตี้ศรีรัช ฉบับที่ 42 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2549

ขอบคุณครับ  แวะเข้ามาแล้วไม่ผิดหวังได้ข้อคิดหลากหลายมาก

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท