การร่วมมือกัน ไม่ใช่แค่คิดดีอย่างเดียว


http://www.bangkokpost.com/261207_Database/26Dec2007_data005.php  

Database >> Wednesday December 26, 2007

COMMUNICATIONS / OPENCARE'S PLATFORM FOR COLLABORATION

Putting relief agencies in touch

SASIWIMON BOONRUANG

Internet Thailand (Inet) has created the Open Exchange for Collaborative Activities in Response to Emergencies (OpenCARE), a network facilitating information sharing and collaboration among relief agencies.

According to Inet president Trin Tantsetthi, OpenCARE was started after analysing the incident handlings following the tsunami that struck the Andaman coastline three years ago today.

Many Inet staff had volunteered to help in providing relief operations and had the idea to make use of volunteer potential as well as co-ordinating efforts in times of chaos. They then came up with an open system to facilitate massive inter-agency collaboration.

OpenCARE has been applied to different disaster domains to better suit other types of alerts, such as "missing person/I am alive" applications, recovery situations, matching pledges and pleas for help, providing food and shelter, coping with terrorist attacks in multiple areas, traffic jams, area blockages such as chemical/industrial explosions or severe weather warnings.

The company treats OpenCARE as a not-for-profit project and Trin said that Inet aimed to push OpenCARE towards becoming an international NGO, adding that OpenCARE was a gift from the Thai people to the world community.

OpenCARE is an information exchange platform that facilitates information sharing and coordinates collaboration among relief organisations. These organisations can be government agencies, NGOs or individual volunteers. All are provided with the latest information so that effective relief decisions are made in a timely manner.

As message-oriented middleware, OpenCARE accepts input from multiple sources and translates the information into a format that each recipient understands and can make use of immediately, be it data for existing applications or for web access.

Initially, OpenCARE services can operate over the Internet, instant messengers, as a web portal and between amateur radio operators.

OpenCARE talks to each system in its native format. Once data is retrieved, OpenCARE translates it into EDXL (Emergency Data Exchange Language), a worldwide information structure for handling emergencies. For output, OpenCARE translates EDXL back into a format suitable for each recipient. In this way, incompatible systems can share their information with other relief agencies without the need to modify their application or retrain relief staff.

"Should mobile operators join in, we can provide disaster alerts to them for free for redistribution to their subscribers. OpenCARE also gives public information to radio and TV stations, the print media as well as to the public at large so that the public is informed of the latest development as the situation goes," he said.

At the moment, Inet is engaged with five relief agencies in Thailand as a proof of concept and others are waiting in queue. As OpenCARE could deal with diversity of information quite easily, more participants would make OpenCARE more valuable, according to Trin.

Despite uncertainties, early warnings save lives, as has been proven everywhere around the world. But not all disasters or incidents could be predicted; nonetheless as accurate information reached the population, people could make their decisions for the sake of their own lives and their loved ones, Trin noted.

Should a disaster strike, those who suffered deserved relief operations in a timely manner. This was where OpenCARE could help as well, he added.

In certain countries, disaster mitigation was a national agenda. Disaster didn't strike everyday. But once it did, there was always heavy loss. To a certain extent, proper preparation was like buying insurance. Thailand could make a huge improvement in this regard, Trin said.

OpenCARE has openings for interns and the project is accepting serious volunteers who can spend a month or two with Inet as interns who will learn OpenCARE inside out and will work with relief organisations for the benefit of victims.

Other volunteers are also welcomed to work together with OpenCARE in an coordinated activity from time to time, Trin said.

 


Bangkok Post, Database, December 26, 2007.
© Copyright The Post Publishing Public Co., Ltd. 2007

 

ตีพิมพ์โดยได้รับอนุญาตจาก บมจ.โพส พับลิชชิ่ง 

{แก้ไข: ลิงก์กลับไปที่บทความบน Bangkok Post ที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามวัน}

หมายเลขบันทึก: 156102เขียนเมื่อ 26 ธันวาคม 2007 21:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 22:08 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (13)

พรายตนที่หนึ่งส่งข่าวมาจากเมืองไกลครับ

ประชาไทถอดบทเรียนสึนามิ: บทความ : 3 ปีแห่งความทรงจำ รัฐ ‘ไร้รับผิดชอบ’ คราวคลื่นยักษ์สึนามิ

สวัสดีค่ะ

วันนี้เปิดคอมฯขึ้นดู เห็น Britannica. ส่งข้อความมาว่า

On This Day for 12/26 - Indian Ocean tsunami occurs,

also called  seismic sea wave  or  tidal wave  catastrophic ocean wave, usually caused by a submarine earthquake, by an underwater or coastal landslide, or by the eruption of a volcano. The term tsunami is Japanese for “harbour wave.”

The term tidal wave is frequently used for such a wave, but it is a misnomer, for the wave has no connection with the tides.

ตามที่ได้ เคยอ่านบันทึก ในบล็อก OpenCARE ของคุณConductorมาก่อน เลยเปิดอ่านรายละเอียดดูในBrirainicaค่ะ มีรายละเอียดมากพอควรค่ะ

จำได้ว่า วันที่เกิดเหตุ ดิฉันไปพบปะเพื่อนฝูง รับประทานอาหารกลางวัน เราได้คุยกันว่า มีแผ่นดินไหวที่ภาคใต้ พอกลับมาบ้านในตอนบ่ายๆ จึงทราบว่า เป็นเหตุการณ์ที่ร้ายแรงมาก ไม่เคยเกิดขึ้นก่อน

เลยติดตามข่าวเป็นการใหญ่ เพราะมีญาติ ทำบ้านพักอยู่ที่สมุย แต่ที่นี่ ไม่เป็นอะไรเลย ไปมีเหตุการณ์ที่อีกฝั่งหนึ่ง

ต่อจากนั้น ก็ติดตามข่าวตลอดค่ะ พอดี มีเพื่อนอยู่ในเหตุการณ์ด้วยแต่รอดชีวิตมาได้เล่าว่า

ทราบว่า ก่อนเหตุการณ์ ชาวบ้านจับปลาตัวใหญ่ๆได้มาก เหมือนหนีอะไรมา และน้ำลงผิดปกติ ในเวลา 9 โมง ซึ่งไม่ใช่เวลาน้ำลง และก่อนหน้านี้ ตอนกลางคืน ชาวบ้านเห็นปูขึ้นมาเต็มหาดเลย

ตอนสายอีกหน่อย เกิดคลื่นยักษ์ถาโถมเข้ามา วิ่งหนีกันไม่คิดชีวิต คนหนีไม่ทันก็หายไปกับคลื่นมากมาย

ภัยพิบัตินี้ ใหญ่หลวงมากค่ะ แต่สายธารน้ำใจก็หลั่งไหล เข้าสู่พื้นที่ประสบภัยทุกหมู่เหล่า ทั้งในประเทศและนอกประเทศ

นี่คือ ภัยจากคลื่นยักษ์ สึนามิ

ถึงแม้สึนามิจะผ่านพ้นไปแล้ว แต่น้ำใจคนไทย ยังคงอยู่ค่ะ

ขอชื่นชม Inet  ที่ริเริ่ม ทำเว็บไซต์ที่จะช่วยในการค้นหาผู้สูญหาย โดยดึงข้อมูลมาจากเว็บไซต์ที่มีรายชื่อผู้สูญหาย ถึง ๑๘ เว็บไซต์ คือเว็บไซต์ www.inet.co.th/tsunami  เว็บไซต์จากน้ำใจคนไอซีทีเมืองไทย

และเมื่อมาอ่าน บันทึกนี้ ก็รู้สึก ยินดีด้วยค่ะ

 อยากให้ประเทศไทยมีระบบข้อมูลสำหรับเหตุพิบัติภัยที่มีผู้ประสบภัยเป็นจำนวนมาก ทั้งภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุร้ายแรง การก่อการร้าย และอื่นๆอีก

เรื่องนี้ เป็นการแสดงถึงความมีจิตสาธารณะของ  Inet staff ที่มีคุณค่ามาก  และควรจะบันทึกไว้ เป็นหลักฐานให้เป็นข้อมูลสำคัญเพื่อ ขยายขอบเขตงานให้กว้างขวางต่อไปค่ะ 


 

ต่ออีกหน่อยค่ะ พอดีนึกว่าอยากจะเล่าว่า

เรื่องนี้ ทำให้ ดิฉันสนใจเรื่องสึนามิมากค่ะ เนื่องจากสมัยเด็กๆ เรียนภูมิศาสตร์ได้คะแนนดีมาตลอด บางทีได้ 100%เต็ม

เลยมาศึกษาแบบสมัครเล่นดู

ก็เข้าใจว่าสึนามิครั้งนี้ เกิดจากการปะทะกันของเปลือกโลก 2 แผ่น---oblique thrusr faulting--

แผ่นเปลือกโลกอินเดียถูกดันให้เบียนดผ่านแผ่นเปลือกโลกพม่า เมื่อแรงกดดันสูงมากๆ เปลือกโลกจะมุดเข้าไปข้างใต้อีกแผ่นหนึ่ง----subduction

จึงทำให้เกิดแผ่นดินไหว มีศูนย์กลางที่หัวเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดเนเซียและเกิดคลื่นสึนามิ

ไม่ทราบดิฉันทราบมาถูกต้องไหมคะ

ไม่ทราบว่ามันจะเกิดอีกเมื่อไรนะคะ น่ากลัวมากจริงๆนะคะ

oblique thrust faulting--ค่ะ ขอโทษ

ยอดผู้เสียชีวิตในประเทศเรา5,393  คนใช่ไหมคะ

อินโดเนเซีย 240,774 อินเดีย 16,389 และที่อื่นๆอีก รวม 294,035  คน

แนวแผ่นดินไหวแถวนี้ ตั้งแต่พม่า เกาะนิโคบา สุมาตรา เรื่อยลงไป เป็นแนวแผ่นทวีปมุดตัว (subduction zone) สึนามิคราวที่แล้ว ก็เป็นอาการนี้อย่างที่พี่ว่าไว้ครับ 

ยอดผู้เสียชีวิต ยืนยันลำบากนะครับ ระบบข้อมูลไม่ดีพอ ไม่มีประเทศไหนเตรียมตัวดีเลย ผมอยากคิดว่าตัวเลข เป็นตัวเลขประมาณครับ 

Three years after the disaster of a "biblical" proportion, a significant milestone to an initiative, continued and unyielding effort that only a mad person (in the mad person's own words) could and would carry and follow through. Thanks to the kindness of madness, or the other way around ? *smile*.

Here's more news on OpenCARE Opening 

ขอบคุณ inet ครับที่ทำดีเพื่อคนไทย

ขอบคุณ อ. Conductor ครับที่นำบทความดีๆมาให้อ่านครับ

ขอบคุณคุณ Bluebonnet กับท่านอัยการครับ 

มีบทความเก่าอันหนึ่ง ที่พี่ศศินันท์ค้นเจอและลิงก์ไว้ เป็นเรื่องเดียวกันครับ 

เหตุการณ์ใหญ่แบบนี้ ซับซ้อน มีหลายมิติ คนที่อยู่ในแต่ละมิติ ต่างก็พยายามเต็มที่ และเป็นเรื่องจริงทั้งนั้น

แต่ผมคิดว่ายังขาดมิติของการประสานงาน และความร่วมมือระหว่างคนทำงาน -- สึนามิเกิดก่อนการเลือกตั้งใหญ่ (19 ม.ค. 2548) เพียงสามอาทิตย์เท่านั้น เมื่อเกิดสึนามิแล้ว ก็ยังมีการชนะการเลือกตั้งแบบแผ่นดินถล่มตามมาอีก

สำหรับคนดู ผมคิดว่าคนไทยมีสิทธิ์รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับพี่น้องของเขา ส่วนผู้ที่ได้ให้ความช่วยเหลือ เขาก็มีสิทธิ์รู้ว่าความช่วยเหลือต่างๆ นั้น ได้ไปยังคนที่ต้องการความช่วยเหลือจริงๆ ตามวัตถุประสงค์ ไม่ได้ตกหล่นสูญหายไปไหน 

เมื่อรู้แล้ว จะทำหรือไม่ทำอะไร ก็ขึ้นกับการตัดสินใจของแต่ละคนครับ

ไทยมีสิทธิ์รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับพี่น้องของเขา

ส่วนผู้ที่ได้ให้ความช่วยเหลือ เขาก็มีสิทธิ์รู้ว่าความช่วยเหลือต่างๆ นั้น ได้ไปยังคนที่ต้องการความช่วยเหลือจริงๆ ตามวัตถุประสงค์ ไม่ได้ตกหล่นสูญหายไปไหน 

ในประเด็นนี้ พี่เลือก ให้ความช่วยเหลือ ผ่านสภากาชาดค่ะ เพื่อความแน่ใจจริงๆ ไม่อยากเสียกำลังใจ ถ้ารู้ว่า สิ่งที่เราตั้งใจให้ ไปไม่ถึงมือ คนที่เราอยากให้

และปฏิบัติแบบนี้ มานานค่ะ ไม่เคยบริจาคผ่านใครที่เราไม่แน่ใจค่ะ

และพวกฝรั่งที่มาบริจาคทีละมากๆ เขาก็บริจาคผ่านองค์กรใหญ่ๆ เช่น สหประชาชาติ นะคะ

เหมือนกันเลยครับพี่

แต่สภากาชาดก็ต้องการเครื่องมือในลักษณะนี้เช่นกัน เพื่อที่จะทราบได้ว่าความช่วยเหลือที่ส่งไป ตรงกับความต้องการพอดี ไม่มากไป ไม่น้อยไป และส่งไปทันเวลา สภากาชาดก็ต้องการข้อมูลจากหน่วยงานบรรเทาทุกข์เพื่อที่จะรู้ได้ว่ามีใครต้องการอะไรมากเท่าไร -- ตอนนี้ใช้ทำมือ ซึ่งแม้ตอบวัตถุประสงค์ของผู้บริจาคได้ แต่ก็มีปัญหาเรื่องความฉับไวทันการณ์ครับ

ตอนสึนามิคงจำกันได้ มีโทรทัศน์ไปสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญท่านหนึ่ง ซึ่งท่านชี้แจงว่าศพที่โดนน้ำทะเลประกอบกับอากาศร้อนชื้น ทำให้ศพเน่าเร็ว เก็บตัวอย่างเพื่อพิสูจน์เอกลักษณ์ไม่ทัน ต้องฉีดยาศพไว้ก่อน แต่ก็ทำไม่ทันเพราะเข็มฉีดยาไม่พอ

เมื่อข่าวออกมาทางโทรทัศน์ เข็มฉีดยาก็ไปครับ ต่างคนต่างส่ง เพราะต่างคนต่างปรารถนาดี คิดจะช่วยจริงๆ แต่ผลคือมีเข็มมากเกินความต้องการครับ

ในช่วงนั้น มีทีมจากสมาคมวิชาชีพทางการแพทย์ คณะแพทย์ศาสตร์ และโรงพยาบาล หลายแห่งลงไปช่วยเช่นกัน ทีมงานเหล่านี้ ต่างตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดเดียวกันครับ แต่โทรทัศน์ไม่ออกข่าว หนังสือพิมพ์ก็ไม่ค่อยลง

ตัวอย่างเรื่องนี้ ถึงไม่มีใครผิดเลย แต่เราทำให้ครั้งหน้าดีกว่าที่ผ่านมาได้ และจะดีที่สุดหากหาทางป้องกันหรือแจ้งเตือนได้ล่วงหน้าได้ครับ 

ได้เปิดชมแล้วค่ะ ดีค่ะ

และขอชื่นชม ที่องค์กรนี้ ที่กำลังมี สมาชิกและมีการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เป็นวงกว้างขึ้นๆ

โดยมีเป้าหมายที่จะกลายเป็นเครือข่ายที่ให้ความช่วยเหลือด้านภัยพิบัติแก่ประชากรทั่วโลก หรือ กลายเป็นเอ็นจีโอสากลในที่สุด

ข่าวนี้ ปรากฏที่ ZDnet Asia ด้วยครับ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท