หัวหน้าพยาบาล..ให้นโยบายเพื่อพัฒนางานวิจัยในปี 2551


แผนการทำงานของคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย ปี 2551

นโยบายของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ วันที่ 5 ตุลาคม 2550ณ. ห้องประชุมฝ่ายการพยาบาล  <ul><li><div class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt">หัวหน้าพยาบาล บรรยายว่า  การจัดทำแผนวิจัยของ ฝ่ายการพยาบาลในปี 2551 ควรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์  </div></li></ul><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"> </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">หัวหน้าพยาบาล คุณชูศรี  คูชัยสิทธิ์</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">คณะกรรมการฯ ตั้งใจฟังค่ะ</p><ul>

  • ยุทธศาสตร์ที่ 2:
  • การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน
  • เป้าประสงค์   แหล่งสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ที่ตอบสนองต่อการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
  • </ul><ul>

  •  เป้าหมายหลัก
  • ผลงานวิจัยที่ตอบสนองปัญหาชุมชน สังคม และกลุ่มภูมิภาคอาเซียน
  • ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติที่มี Impact สูง และได้รับการอ้างอิงและนำไปสู่การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
  • </ul><ul>

  • ตัวชี้วัด 
  • โครงการวิจัยใหม่ที่ขอรับการสนับสนุนเงินทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอก
  • บุคลากรที่เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการวิจัยต่อปีครั้งของการฝึกอบรมต่อปี เพื่อพัฒนานักวิจัยให้มีขีดความสามารถในวิจัย
  • ร้อยละของจำนวนสายสนับสนุน (ขก./พมข.)ที่ได้รับทุนวิจัย
  • ร้อยละของจำนวนบุคลากรที่ได้นำเสนอผลงานทางวิชาการต่อจำนวน  บุคลากร (ขก./พมข.) ทุกระดับ 
  •   บุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับทุนวิจัย
  • จำนวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ต่อปี
  • </ul><ul>

  • นโยบายและทิศทางการวิจัยด้านการพยาบาล
  • ขึ้นอยู่กับเป้าหมายขององค์กร หรือประเทศ
  • มีงบประมาณสนับสนุนการวิจัยที่เร่งด่วน
  • การกำหนดโจทย์วิจัยและจัดลำดับความสำคัญอาจรวบรวมได้ ดังนี้
  • </ul><p>                @ การสนทนากลุ่ม (focus group discussion)    </p><p>                @ การระดมสมอง    </p><p>                @ การวิเคราะห์ข้อจำกัด    </p><p>               @ การสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ     </p><p>               @ การสำรวจโดยใช้เทคนิคเดลไฟ </p><ul>

  • นโยบายพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยครบวงจรในโรค  5 อันดับแรก
  • การวิจัยเกี่ยวกับการทดลองใช้รูปแบบและวิธีการพยาบาลที่มุ่งเน้น
  • </ul><ul><li><div class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt"> การพัฒนาการและส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุดโครงการวิจัยเพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์สุขภาพของประชากรในกลุ่มต่าง ๆ </div></li></ul><ul>

  • ขอบเขตการวิจัยในกลุ่มประชากร
  • กลุ่มประชากรสำคัญ   ได้แก่   ผู้สูงอายุ   เด็ก   ผู้หญิง
  • กลุ่มเสี่ยง   ได้แก่   ผู้สูบบุหรี่   อ้วน   มีโรคทางพันธุกรรม   Violence  และ  abuse
  • ผู้ที่มีภาวะ การเจ็บป่วยเรื้อรัง   เช่น   เบาหวาน  ไต  หัวใจ  ปอดอุดกั้นเรื้อรัง  มะเร็ง  เอดส์  ธาลัสซีเมีย  ผู้พิการ  ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
  • ผู้ป่วยโรคติดเชื้อที่พบมาก  เช่น  AIDS  และวัณโรค  มาลาเรีย  ไข้เลือดออก  อุจจาระร่วง  เลปโตสไปโรซีส
  • </ul><ul>

  • โจทย์การวิจัย
  • ความต้องการด้านสุขภาพและปัจจัยเงื่อนไขทางสังคมวัฒนธรรมเศรษฐกิจ
  • พฤติกรรมสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
  • สถานการณ์ด้านสุขภาพ  และการเจ็บป่วย  เน้นการศึกษาทางระบาดวิทยา
  • ระบบการดูแลสุขภาพในสังคม
  • </ul>ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาบทบาทหน้าที่และสมรรถนะของพยาบาลให้สอดคล้องตามภารกิจด้านสุขภาพตาม  พ.ร.บ.  สุขภาพแห่งชาติ <ul>

  • ขอบเขตการวิจัย
  • บทบาทหน้าที่และสมรรถนะของพยาบาลในระบบบริการสุขภาพระดับต่าง ๆ  ได้แก่  ระดับปฐมภูมิ  ทุติยภูมิ  ตติยภูมิ  และในการส่งต่อผู้ป่วย
  • </ul><ul>

  • โจทย์วิจัย
  • สถานการณ์การทำบทบาทหน้าที่และสมรรถนะของพยาบาลในระบบบริการสุขภาพ
  • การสังเคราะห์ เพื่อนำเสนอบทบาทหน้าที่และสมรรถนะของพยาบาลในระบบบริการสุขภาพระดับต่าง ๆ   ได้แก่ ระดับปฐมภูมิ  ทุติยภูมิ  ตติยภูมิ
  • การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดระบบบริการสุขภาพและการทำบทบาทหน้าที่ของพยาบาลให้สอดคล้องตามภารกิจด้านสุขภาพตาม  พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ
  • </ul>ชุดโครงการวิจัยเกี่ยวกับพัฒนาบริการสุขภาพและควบคุมคุณภาพบริการ   ที่เน้นการมีส่วนร่วมของ  ประชาชน  การดูแลตนเองด้านสุขภาพ  เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีความเป็นท้องถิ่น  หรือ  เฉพาะที่เป็นสำคัญ  <ul>

  • ขอบเขตการวิจัย
  • การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประชากรทุกกลุ่ม  ทุกวัย  หญิงและชายทั้งที่บ้าน  ชุมชน  สถานที่ทำงาน  ทั้งนี้มุ่งนำเสนอ  ความต้องการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค  ลักษณะการบริการ  บทบาทหน้าที่ของสถานบริการของรัฐและวิชาชีพผู้ให้บริการ
  • ผู้ที่มีภาวะ การเจ็บป่วยเรื้อรัง   เช่น  เบาหวานไต  หัวใจ  ปอดอุดกั้นเรื้อรัง  มะเร็ง   เอดส์  ธาลัสซีเมีย  ผู้พิการ  ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
  • </ul><ul><li><div class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt"> กลุ่มประชากรสำคัญ   ได้แก่  ผู้สูงอายุ   เด็ก   ผู้หญิงเสี่ยง ได้แก่   ผู้สูบบุหรี่   อ้วน   มีโรคทางพันธุกรรม Violence  และ  abuse </div></li></ul><ul>

  • ผู้ป่วยโรคติดเชื้อที่พบมาก  เช่น  AIDS  และวัณโรค  มาลาเรีย  ไข้เลือดออก  อุจจาระร่วง  เลปโตสไปโรซีส
  • ผู้ป่วยระยะวิกฤตและอุบัติเหตุฉุกเฉิน
  • </ul>  <ul>

  • โจทย์วิจัย
  • การวิจัยและพัฒนาชุดบริการหลักสำหรับประชากรกลุ่มต่าง ๆ  ที่ครอบคลุมการคัดกรอง  การวินิจฉัยและประเมินความต้องการ  การพัฒนาวิธีการบริการ   การบริการอย่างต่อเนื่อง  การวัดผลลัพธ์การบริการในกลุ่มประชากรเหล่านี้
  • ผู้ที่มีภาวะ การเจ็บป่วยเรื้อรัง   เช่น เบาหวานไต หัวใจ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง   มะเร็ง  เอดส์  ธาลัสซีเมีย  ผู้พิการ  ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
  • </ul>  <ul>

  • กลุ่มประชากรสำคัญ   ได้แก่  ผู้สูงอายุ  เด็ก  ผู้หญิง
  • ผู้ป่วยโรคติดเชื้อที่พบมาก  เช่น  AIDS  และวัณโรค  มาลาเรีย  ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง  เลปโตสไปโรซีส
  • ผู้ป่วยระยะวิกฤติและอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน
  • ปัญหาสุขภาพที่สำคัญอื่น ๆ เช่น ธาลัสซีเมีย สารเสพติด ความรุนแรง   โรคอ้วน เป็นต้น
  • </ul><ul><li><div class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt">การวิจัยและพัฒนาชุดบริการหลัก   ที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในประชากรทุกกลุ่ม ทุกวัย หญิงและชาย ทั้งที่บ้าน ชุมชน สถานที่ทำงาน ที่ครอบคลุมการประเมินความต้องการ การพัฒนาวิธีการบริการ การทำงานร่วมกับประชาชน  และองค์กรที่เกี่ยวข้อง การวัดผลลัพธ์การบริการ</div></li></ul><ul>

  • การวิจัยและพัฒนาสมรรถนะการดูแลสุขภาพตนเองในประชากรทุกกลุ่ม
  • การวิจัยเพื่อผสมผสานวิธีการดูแลสุขภาพตนเอง และหลักปฏิบัติศาสนาเข้ากับการพยาบาลสมัยใหม่
  • การวิจัยและพัฒนา กลวิธีในการจัดการกับปัญหาสุขภาพหรืออาการต่าง ๆ  ที่เป็นผลจากการเจ็บป่วยที่พบบ่อย และผลลัพธ์ของบริการต่อภาวะสุขภาพ เช่น  กลวิธีในการจัดการกับภาวะทุโภชนาการ
  • กลวิธีในการจัดการกับความรุนแรงในครอบครัว การใช้สารเสพติดในครอบครัว ชุมชน
  • กลวิธีในการจัดการกับความเครียด
  • กลวิธีในการควบคุม ป้องกันโรคท้องถิ่น เช่น มาลาเรีย เลปโตสไปโรซีส   ไข้เลือดออก วัณโรค
  • กลวิธีในการจัดการกับความเจ็บปวด
  • </ul>ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์กรการพยาบาล มาตรฐาน จริยธรรมในวิชาชีพและกฎหมายวิชาชีพ  <ul>

  • ขอบเขตการวิจัย
  • บทบาทหน้าที่ขององค์กรวิชาชีพ ระดับต่าง ๆ เช่น ในสถานบริการสุขภาพ สมาคม  ชมรม และ สภาการพยาบาลในเรื่อง ต่าง ๆ ในการควบคุมคุณภาพการให้บริการ  สุขภาพในระดับต่าง ๆของระบบบริการสุขภาพ
  • แนวปฏิบัติในการบริการพยาบาล : การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการใช้กระบวนการ
  • มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ      พยาบาลในคลินิกจริยธรรมในวิชาชีพ  กฎหมายวิชาชีพ
  • </ul><ul>

  •  โจทย์วิจัย
  • เน้นกระบวนการวิจัยเพื่อขับเคลื่อนองค์กรวิชาชีพมากกว่าการพัฒนาองค์ความรู้
  • การวิเคราะห์สถานการณ์ที่ชี้บทบาทหน้าที่ขององค์กรวิชาชีพ ระดับต่าง ๆ เช่น ในสถานบริการสุขภาพ สมาคม ชมรม และสภาการพยาบาล
  • การสังเคราะห์  เพื่อเสนอบทบาทหน้าที่ขององค์กรวิชาชีพ ระดับต่าง ๆ เช่น ในสถานบริการสุขภาพ สมาคม ชมรม และสภาการพยาบาล 
  • </ul> ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล <ul>

  • ขอบเขตการวิจัย
  • การพัฒนาสมรรถนะทางการพาบาลที่เหมาะสมกับลักษณะบริการ โดยการศึกษา การอบรม การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
  • การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษาพยาบาล
  • พัฒนาระบบจัดการศึกษาและรูปแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการพยาบาลแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลและลดต้นทุนค่าใช้จ่าย
  • การพัฒนารูปแบบการสร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและสถาบันให้บริการพยาบาลในการจัดการศึกษาพยาบาล
  • </ul>  <ul>

  • โจทย์วิจัย
  • การวิเคราะห์และสังเคราะห์สถานภาพกำลังคนทางการพยาบาลและบริบทการพัฒนากำลังคน
  • การวิจัยและพัฒนากลวิธี  ในการพัฒนากำลังคนทางการพยาบาล โดยเน้นการเตรียมพยาบาลที่มีสมรรถนะในการให้บริการสุขภาพ ขั้นต้น และ ขั้นสูง ตามภารกิจการบริการสุขภาพของระบบสุขภาพใหม่ ทั้งในระบบการศึกษา และในระบบการอบรมต่อเนื่อง
  • </ul><ul>

  • การวิจัยและพัฒนาสมรรถนะการวิจัยด้านสุขภาพและการพยาบาลควบคู่ไปกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
  • การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนทางการพยาบาลทั้งในระบบการศึกษาและในระบบการอบรมต่อเนื่อง
  • การวิจัยและพัฒนาแนวทางการประกันคุณภาพการบริการพยาบาลและตัวชี้วัด
  • </ul> ชุดโครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการวิจัยทางการพยาบาล <ul>

  • ขอบเขตการวิจัย
  • การจัดการงานวิจัย
  • การใช้ผลงานวิจัย
  • การเผยแพร่ผลงานวิจัย
  • </ul><ul>

  • โจทย์วิจัย
  • การวิเคราะห์และสังเคราะห์ทิศทางงานวิจัยด้านสุขภาพและการพยาบาล
  • การวิจัยและพัฒนาฐานข้อมูลงานวิจัยด้านสุขภาพและการพยาบาล
  • การวิจัยและพัฒนาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยในการจัดการงานวิจัย
  • </ul><h3 style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">หลังจากรับนโยบายแล้ว   ทีมคณะกรรมการจะได้วางแผนพัฒนางานวิจัยในการประชุมครั้งต่อไปค่ะ</h3>

    หมายเลขบันทึก: 135348เขียนเมื่อ 5 ตุลาคม 2007 19:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (1)

    หลังจากนั้นเรามีการประชุมต่อเรื่อง

    การเขียนโครงการต่างๆ คือ โครงการอบรมกระบวนการวิจัย  โครงการเขียนบทความทางวิชาการและโครงการ EBP

    ฝากให้เลขาฯคุณพรนิภา ไปร่างแผนคร่าวๆเพื่อพิจารณาในการประชุมคราวหน้า

    เราหารือกันว่า...คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยน่าจะทำโครงการวิจัยเรื่องหนึ่ง..และเชิญชวนแผนกฯต่างๆเข้ามาร่วมโครงการฯ เป็น One research One department

    การบ้านที่คณะกรรมการแต่ละคนไปคิดว่า เราจะทำเรื่องอะไรดี....

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท