การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง


ถ่านอัดแท่ง

ชื่อนวัตกรรม การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง   โรงเรียนบ้านบึงตะโก

ผู้รับผิดชอบ นายวินิจ  ชุดไธสง โทรศัพท์ 086 7264899

กระบวนการจัดทำนวัตกรรม <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">            การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงได้มีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการดำเนินงานดังนี้</p>          วัตถุประสงค์          1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง          2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้          3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการผลิตถ่านอัดแท่งใช้ในครัวเรือนและการจำหน่าย เป็นการลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว          4. เพื่อส่งเสริมหลักความร่วมมือระหว่างโรงเรียน  ชุมชน  และองค์การบริหารส่วนตำบลในการผลิตถ่านจากเศษถ่านอัดแท่งเพื่อเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง        5. เพื่อส่งเสริมค่านิยม เจตคติที่ดีต่อหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป้าหมาย          1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคน          2. นักเรียนร้อยละ 80 เข้าใจระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิประจำวันได้          3. นักเรียนร้อยละ 80 สามารถทำถ่านอัดแท่งใช้ในครัว เรือนและ เพื่อการจำหน่ายได้        4. เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal"></p>          การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt; text-align: justify" class="MsoNormal">โดยกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการปฏิบัติด้วยตนเองให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และการสร้างค่านิยมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนานวัตกรรม การสืบค้น การรวบรวมความรู้ ในการสร้างและกำหนดขั้นตอนการดำเนินงานในการดำเนินงานทำถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงได้ศึกษาค้นคว้า นำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีการนำกลับมาใช้(รีไซเคิล) วงจร PDCA ของเดมมิ่ง แล้วผู้จัดทำได้กำหนดวิธีดำเนินงานไว้ 5 ขั้นตอน ได้แก่</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">                   1. การวางแผนการปฏิบัติงาน</p>                            - การมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">                      - การศึกษาดูงาน</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">                   2. การดำเนินงานตามแผน</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">                   3. การประเมินผลงาน</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">                   4. การปรับปรุงผลงาน</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal">                   5. การรายงานผลการดำเนินงาน</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify" class="MsoNormal"></p>การแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพของกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ <p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">                1การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการแก้ปัญหาการไม่ตัดไม้ทำลายป่า ไม่ทำลายสภาพแวดล้อม ไม่ทำให้น้ำท่วม  เนื่องจากการผลิตถ่านอัดแท่งเป็นการใช้วัสดุเหลือใช้ เช่นเศษถ่าน ถ่านจากกะลามะพร้าว นำมาอัดเป็นแท่งให้มีความหนาแน่นและให้พลังงานสูง</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">                2 เป็นการสร้างค่านิยมให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีคุณธรรมนำความรู้  และสามารถนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">                3 เป็นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการพึ่งตนเองคือสามรถทำถ่านอัดแท่งไว้ใช้ในครอบครัวเป็นการลดรายจ่ายคือไม่ต้องใช้แก๊สเป็นประจำซึ่งมีราคาแพง ใช้ถ่านอัดแท่งสลับกันไป และถ้าผลิตถ่านอัดแท่งได้จำนวนมากสามารถนำไปขาย เป็นการเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">               4 การผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษถ่านพลังงานเพื่อชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับความร่วมมือ จากผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ทั้งโรงเรียน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนตำบล ครู นักเรียน และวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น</p><p align="left">ข้อเสนอแนะ          น่าจะเปลี่ยนชื่อเรื่องจากพลังงานเพื่อชีวิต เป็นพลังงานทดแทน</p><p align="center">
</p>

คำสำคัญ (Tags): #สิ่งประดิษฐ์
หมายเลขบันทึก: 133404เขียนเมื่อ 1 ตุลาคม 2007 10:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:24 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

วันนี้ ศน.ไพรวัลย์ มาเป็นวิทยากรอบรมปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาระบบ e-Learning ด้วยโปรแกรม Moodle:LMS ให้แก่โรงเรียนในฝัน 14 โรงเรียน ที่โนนสูงศรีธานี เลยถือโอกาส "แว็บบบบ...." ยาวๆ มาเยี่ยมและแสดงความชื่นชมยินดีคุณครูและผู้บริหารที่สร้างบล๊อคเล่าเรื่องนวัตกรรมไว้ และเสริมคู่มือการเพิ่มบันทึก และการแก้ไขบันทึกไว้ให้ศึกษา ...ที่ http://www.korat1.info/sup/pdf/using%20blog.pdf

(คลิกเข้าไปได้เลยครับ)

...แล้วจะแวะมาชมใหม่นะครับ...

นายพลสิทธิ์ เหมะวิศัลย์
ขอเบอร์ติดต่อ

กรุณาส่งข้อมูลถึงวิธีการทำถ่านอัดแท่งค่ะ ขอบคุณค่ะ

แอน

อยากรู้วิธีการทำถ่านอัดแท่งค่ะ

ท่านใดที่ต้องการติดต่อ ที่ 0837410561

ขอขอบคุณท่านวินิจ ที่เผยแพร่สิ่งดีๆไว้ให้

ปีนี้มีการถอดบทเรียนนวัตกรรมอีกไหมหนอ

สวัสดีค่ะทำได้ดีมากค่ะขอชื่นชมผลงานนะค่ะ

เฮ้ยมันใช้ทฤษฎีอะไร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท