2007 Baldrige Actionable Criteria


American Society of Quality

เกณฑ์คุณภาพปี ๒๐๐๗

 American Society of Quality ได้ออกเกณฑ์คุณภาพปี ๒๕๕๐ มาแล้วครับ สนใจลองอ่านได้ใน

FREE Baldrige Criteria for Performance Excellence Changes 2007 คลิกที่ข้างล่างนี้ครับ

 http://www.asq.org/webinars/baldrige-criteria-changes-2007.html

 http://baldrige21.com/Baldrige%20Criteria.htm

 ตัวอย่างบางตอนเรื่องประวัติของการพัฒนาคุณภาพครับ

The quality movement can trace its roots back to medieval Europe, where craftsmen began organizing into unions called guilds in the late 13th century.

Until the early 19th century, manufacturing in the industrialized world tended to follow this craftsmanship model. The factory system, with its emphasis on product inspection, started in Great Britain in the mid-1750s and grew into the Industrial Revolution in the early 1800s.

In the early 20th century, manufacturers began to include quality processes in quality practices.

After the United States entered World War II, quality became a critical component of the war effort: Bullets manufactured in one state, for example, had to work consistently in rifles made in another. The armed forces initially inspected virtually every unit of product; then to simplify and speed up this process without compromising safety, the military began to use sampling techniques for inspection, aided by the publication of military-specification standards and training courses in Walter Shewhart’s statistical process control techniques.

The birth of total quality in the United States came as a direct response to the quality revolution in Japan following World War II. The Japanese welcomed the input of Americans Joseph M. Juran and W. Edwards Deming and rather than concentrating on inspection, focused on improving all organizational processes through the people who used them.

By the 1970s, U.S. industrial sectors such as automobiles and electronics had been broadsided by Japan’s high-quality competition. The U.S. response, emphasizing not only statistics but approaches that embraced the entire organization, became known as total quality management (TQM).

By the last decade of the 20th century, TQM was considered a fad by many business leaders. But while the use of the term TQM has faded somewhat, particularly in the United States, its practices continue.

In the few years since the turn of the century, the quality movement seems to have matured beyond Total Quality. New quality systems have evolved from the foundations of Deming, Juran and the early Japanese practitioners of quality, and quality has moved beyond manufacturing into service, healthcare, education and government sectors.

JJ2007

หมายเลขบันทึก: 101456เขียนเมื่อ 7 มิถุนายน 2007 14:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 พฤษภาคม 2013 09:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

มาเยี่ยม...ท่าน JJ

อ่านแล้วมานึกถึงการศึกาในไทยของเรา...

เท่าที่สัมผัสมีคนกลุ่มหนึ่งต้องการคุณภาพโดยเฉพาะทางการศึกษา  แต่มีคนหลายกลุ่มที่ต้องการแค่ปริมาณเท่านั้นครับผม...

เรียน ท่าน umi P 

  •  คนบางคนต้องการแค่ปริมาณก็ยังดีครับ
  •  บางคนแค่ว่า "ทำตัวชี้ และ วัด"
  • ไม่ได้มี "จิตร่วมพัฒนา" ครับ
  •  เรียกว่า "ไม่รู้ แล้วยัง ชี้" ครับ
  • น่าสงสารองค์กร ครับ
  • คิดถึงคนนี้จัง
  • Deming
  • เมื่อรู้ว่า เอา PDCA มาใช้ในไทยในด้านการศึกษาแล้วไม่ประสบผลสำเร็จ
  • แกคงช้ำใจน่าดู
  • ฮ่าๆๆๆ
  • ขอบคุณครับ

ขอบคุณครับท่านอาจารย์จิตเจริญ

สำหรับ เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (2007 Education Criteria for Performance Excellence)

ขออนุญาตเพิ่มลิ๊งอีกนะครับ ที่หน่วยงานต้นสังกัดของเราเอง สกอ.

http://www.mua.go.th/users/bhes/front_home/2007%20Education%20Criteria%20for%20Performance%20Excellence.pdf

จริงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานของผู้โดยตรงเลยนะครับ แต่บังเอิญ เป็นภาษาอังกฤษนี้สิ เลยเป็นอุปสรรคมากครับ

คงต้องรอให้ ส.เพิ่ม แปล เป็นแบบ TQA ไทยๆ ก่อนครับ

  • ขอบคุณ ที่ทำ Link ให้ครับ

พวกนักล่ารางวัล คงชอบ  ที่จะเอาไปทำ 

  • คนหยาบ อ่าน Criteria  (อ่านว่า ใคร ที่ เลีย) แล้ว   ก็เอาแต่ผิวๆไปทำ  ไม่ลงในใจ ไม่ค่อยจะทำกัน  คือ เลียเฉยๆ  ไม่ได้ กลินกิน)  
  • "ไม่รู้แล้วดันชี้"    คำนี้ จ๊าบ  มาก

 

 

เรียน ท่านอาจารย์ ดร.ขจิตP

 เรื่องคุณภาพมีนิทานครับ

 อะไรเอ่ย เกิดที่อเมริกา

 เติบโตที่ ญี่ปุ่น

 มาแคระ แกรน และ ตายที่ เมือง......

เรียน ท่าน Jack ผู้ร่วมพัฒนาP

 เรียนเชิญครับ ต่อ เติม เสริม เพื่อการพัฒนาครับ

 ภาคภาษาไทย ทาง สกอ เคยพิมพ์ออกมา ๒ version ครับ ไม่ทราบว่ายังมีแปล version ใหม่อีกหรือไม่ครับ

 คำที่แสลงหู "ครู บา อาจารย์" คือ เห็น ลูกศิษย์ ลูกหา เป็น "ลูกค้า" ครับ

เรียน ท่านไร้กรอบ P

  •  อะไร อะไร ก็ทำตาม KPI
  •  ไอ กันจนเหนื่อยครับ
  •  จิตใจ ฅน ทำไม่ได้สน
  •  Too Many Tools ครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท