ประชุมปฏิบัติการจัดทำร่างระบบพัฒนาการศึกษาตามอัธยาศัย ตาม (ร่าง) พรบ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


 

   วันนี้เจ็ดโมงเช้าไปสภากาแฟจังหวัดชลบุรี ถือโอกาสรายงานตัวต่อท่านผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี และพบปะกับหัวหน้าส่วนราชการ ท่านผวจ.ให้แนะนำตัวในที่ประชุม เมื่อได้ทักทายปราศรัยกันพอสมควรแล้วต้องขออนุญาตท่านผวจ.เดินทางต่อไปโรงแรมนนทบุรีพาเลซ และเข้าประชุมปฏิบัติการจัดทำร่างระบบพัฒนาการศึกษาตามอัธยาศัย ตาม(ร่าง) พรบ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แม้จะเข้าที่ประชุมช้าไปนิด พอมาถึงก็คิดไล่ตามโจทย์ให้ทัน ร่วมกันพิจารณา มาดูรายละเอียดกัน

 

<table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="100%"><tbody><tr><td style="background-color: transparent; border: #ece9d8"><div class="shape" style="padding-right: 7.2pt; padding-left: 7.2pt; padding-bottom: 3.6pt; padding-top: 3.6pt"><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: right" class="MsoNormal" align="right"></p></div></td></tr></tbody></table>(ร่าง)ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2551 <p>สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน¹¹¹¹¹¹¹¹¹¹¹¹ วิสัยทัศน์                                                กศน. เป็นองค์กรหลักในการสร้างสังคมอุดมปัญญาด้วยการจัดการให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน อย่างมีคุณภาพและทั่วถึง                                    </p><p>                    พันธกิจ</p><p>                                                                               1.                    สร้างเสริมความใฝ่ฝันทะยานอยาก(Aspiration)ในการเรียนรู้และทักษะการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถเรียนรู้ได้จากสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย                                               </p><p>         2.สร้างและกระจายโอกาสการเรียนรู้โดยการกระจายแหล่งเรียนรู้ สื่อ และเทคโนโลยี เพื่อตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ตลอดชีวิต                                                </p><p>     3.จัดและส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการทำงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตและชดเชยโอกาสทางการศึกษา                                                                             4. สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็นกลไกในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต                                                </p><p>5.   ส่งเสริมให้ชุมชนจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาสากลผ่านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา                                                       6.   พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้มีคุณธรรมนำความรู้และมีทักษะการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมาย                                            1.         เป้าหมายด้านการยกระดับการศึกษาและการขยายโอกาสทางการศึกษา                                                                เป็นการยกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชากรวัยแรงงาน และการขยายโอกาส
ทางการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายที่มีความประสงค์จะได้รับการศึกษา โดยกำหนดเป้าหมายไว้ ดังนี้
                                               </p><p> 1.1          เป้าหมายระดับบุคคล                                                                                1)            ประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15 59 ปี) ได้รับการยกระดับการศึกษาที่สูงขึ้น
ถึงระดับมัธยมศึกษา และการศึกษาต่อเนื่อง จำนวน
2,284,000 คน โดยจำแนกเป็น
                                                                                                1.1)         ประชากรวัยแรงงานอายุ 15 39 ปี จำนวน 1,122,000 คน ได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา                                                                                                                                                      1.2)               ประชากรวัยแรงงานอายุ 40 59 ปี จำนวน 1,162,000 คน ได้รับบริการการศึกษาต่อเนื่อง (การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน)                                                                                </p><p>2)            ประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 125,000 คน ได้รับการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบด้วยการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และได้รับบริการการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย                                                                                3)                   ประชากรกลุ่มผู้ด้อยโอกาส เช่น ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ เด็กจากครัวเรือนที่ยากจนสตรี เด็กและเยาวชนในสถานพินิจ  ผู้ต้องขัง ประชาชนพื้นที่บริเวณชายแดน ประชาชนในพื้นที่ชนบทห่างไกล
ผู้พิการ ผู้ไม่รู้หนังสือและกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ จำนวน 94
,000 คน รวมทั้งคนไทยที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศ ได้รับบริการการศึกษานอกระบบที่เหมาะสมกับสภาพของผู้เรียน
                                                                                4)            ประชาชนที่ได้รับบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย จำนวน 7,000,000 คน                                                </p><p> 1.2          เป้าหมายระดับครัวเรือน                                                                                ครัวเรือนไม่ต่ำกว่า 900,000 ครัวเรือน ได้รับบริการการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างน้อย 1  กิจกรรม                                                </p><p>2.         เป้าหมายด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง                                                เป็นกระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้มีวิธีคิดและดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยดำเนินการกับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100,000 คน ตามเป้าหมาย 1 อำเภอ
1 ตำบล/ชุมชน*  (
3,500 ตำบล/ชุมชน)                                         3.         เป้าหมายด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย                                               </p> 3.1          พัฒนาคุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยให้ผู้เรียนของแต่ละสถานศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ5 จากฐานปีการศึกษา 2550 ใน 4  วิชาหลัก ได้แก่ วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์                                                        3.2                 ลดอัตราการออกกลางคันของผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบเฉลี่ยร้อยละ 5 ในทุกระดับ                                                                3.3          ผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง แต่ละหลักสูตรไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80  ผ่านเกณฑ์การประเมินตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของหลักสูตร                                                 3.4          ผู้เรียน/ผู้รับบริการ กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แต่ละกิจกรรมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่เข้าร่วม                                                                      <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="100%"><tbody><tr><td style="background-color: transparent; border: #ece9d8"><div class="shape" style="padding-right: 7.2pt; padding-left: 7.2pt; padding-bottom: 3.6pt; padding-top: 3.6pt"><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 148.5pt" class="MsoNormal">*ชุมชน หมายถึง ชุมชนใน กทม. </p></div></td></tr></tbody></table>  <p> </p><p>ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน                                    1.         ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน                                                1.1       ตัวชี้วัด                                                            1)                   ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย                                                                              </p><p>  2)            ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รับการฝึกอบรมที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามหลักสูตร                                                                                3)            ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ที่สามารถนำสาระการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
                                                1.2       จุดเน้นการดำเนินงาน                                                            1)            มุ่งพัฒนาให้บรรลุคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร                                                                                2)            จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการแสวงหาและการสร้างความรู้                                                                                                                        3)                   ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง                                             2.         ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มศักยภาพการจัดการความรู้ของชุมชน2.1  ตัวชี้วัด                                                            1)            ร้อยละของชุมชนที่มีการจัดการความรู้                                                                               </p><p> 2)            ร้อยละของชุมชนที่มีเครือข่ายแกนนำนักจัดการความรู้ของชุมชน                                                                               </p><p> 3)            ร้อยละของชุมชนที่มีแหล่งการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของชุมชน                                               </p><p> 2.2       จุดเน้นการดำเนินงาน                                                                                1)            ส่งเสริม และสนับสนุนให้ชุมชนใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต                                                                                2)            สร้างประชาคมการเรียนรู้และเครือข่ายแกนนำนักจัดการความรู้ของชุมชนที่ยึดชุมชนเป็นฐานในการพัฒนา                                                                                3)            ส่งเสริม และสนับสนุนให้ประชาชนใช้แหล่งการเรียนรู้และใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้                                                                                                                    3.             ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขององค์กรและภาคีเครือข่าย                                                3.1       ตัวชี้วัด                                                            1)            ร้อยละของหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายอื่นๆ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดธรรมาภิบาลระดับปานกลาง                                                                                2)            ร้อยละของหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ที่มีการจัดการความรู้                                                                                3)            ร้อยละของผู้บริหารและบุคลากรของหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ที่ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน                                                </p>

หมายเลขบันทึก: 139012เขียนเมื่อ 16 ตุลาคม 2007 11:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:27 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (18)

        หวังว่า พรบ. ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย    คงมีผลบังคับใช้ทันในรัฐบาลชุดนี้นะครับท่าน ผอ.

        ดีใจด้วยครับที่ได้ย้ายไป จ.ชลบุรี   ขอให้มีความสุขกับการทำงานตลอดไป 

ขอฝากข่าวดีถึงแฟน ๆ ผอ.ดิศกุล ที่เป็นกลุ่มบรรณารักษ์อัตราจ้าง  ปีงบประมาณใหม่ได้ขึ้นอีก 4% เป็น 7,940 นะจ๊ะ 

ขอบคุณ คุณวัชรินทร์ครับ สำหรับข่าวดีแก่บรรณารักษ์อัตราจ้างทั้งหลาย

สวัสดีค่ะ  คุณครู

          สบายดีไหมค่ะ.......หนูแวะมาเยี่ยมเจ้าค่ะ.....เป็นกำลังใจให้นะเจ้าค่ะ ----------->น้องจิ ^_^

lสวัสดีครับน้องจิP

     สบายดีครับ ขอบคุณหลาย ๆ ครับ

ได้รับทราบนโยบายจากท่านผอ.แล้ว จะนำสู่การปฏิบัติในปี 51 ต่อไป

หลังจากที่ได้ติดตามผลงานมานาน แต่ไม่ค่อยแสดงตัวตน
วันนี้ได้่อ่านเรื่องเกี่ยวกับยุทธศาสตร์
จุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและตาม
อัธยาศัย ในปี 2551

เห็นมีคำว่า "ชุมชน"  "ครัวเรือน" ต่อไปหน่วยภาคปฏิบัิติการ (ศบอ.)ต้องจัดกิจกรรมที่เน้นไปที่ชุมชน ครัวเรือนให้มากยิ่งขึ้น
เราชาว ศบอ.บ้านบึงจะนำยุทธศาสตร์นี้ไปวางแผนในปี 2551 ต่อไป 

ขอบคุณครับ ท่านผอ. กำลังหาแนวทางเพื่อวางแผนจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี อยู่พอดี 

 

ขอบคุณ คุณnaunggate ครับ ช่วยสื่อสารกระจายให้พวกเราได้รู้เท่าทันในการกำหนดทิศทางในการทำงานด้วยครับ ใครมีความเห็นอะไรให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะได้เลยครับ
  • นโยบายทุกอย่างดีมาครับ ชาวหนองใหญ่ยินดีที่ได้ทำงาน
  • ฝากท่าน ผอ.ด้วยครับว่า.....อย่าลืมส่งกำลังบำรุงให้แก่ ศบอ.ด้วย.....ขอบคุณครับ

ขอบคุณผอ.อนุชา ครับ จะหาทางสนับสนุนให้พวกเรามีศักยภาพและทำงานอย่างคล่องตัวครับ ขอเวลาศึกษาสภาพปัจจัยหนุนต่าง ๆ สักหน่อย

รับทราบนโยบายท่านผอ.แล้วและได้แจ้งผู้ร่วมงานทุกท่านเพื่อการทำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันพวกเราชาวศบอ.เต็มใจและเต็มกำลังความสามารถในการปฎิบัติงานขอเพียงให้ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดเป็นฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการปฎิบัติงานในพื้นที่ของชาวศบอ.และขอกำลังใจในการปฎิบัติงาน

รับทรายนโยบาย ศบอ.ได้ดำเนินการศึกษานโยบายและ

ได้วางเป้าหมายในการดำเนินการปี51ไว้แล้ว และรอการ

ประสานแผนอีกครั้งหนึ่ง 

ขอบคุณ ผอ.vanna bothong ครับ จะสนับสนุนทรัพยากรและให้กำลังใจในการทำงานให้ดีที่สุดเท่าที่ทำได้ครับ

ภุชงค์ ฉิมพาลี (ศรีราชา)
ถ้าหากจะมีฐานะเทียบเท่ากรมก็จะดีไม่น้อย เพื่อจะได้เป็นนิติบุคคล และส่งผลในเรื่องของการที่จะไม่ต้องถ่ายโอนสู่ท้องถิ่น
-ขอบคุณผอ. ภุชงค์ ฉิมพาลี (ศรีราชา) ครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท