มนุษยสัมพันธ์กับการบริหารโรงเรียน


RELATION กับการพัฒนาความสามารถด้าน “มนุษยสัมพันธ์” ในการทํางาน

RELATION กับการพัฒนาความสามารถดาน “มนุษยสัมพันธ” ในการทํางาน
 
ความมีมนุษยสัมพันธ (Human Relation) เปนปจจัยความสามารถในดานหนึ่งที่ทําใหการทํางานประสบผลสําเร็จ ซึ่งความมีมนุษยสัมพันธหมายถึง การสรางความเปนมิตร หรือความสัมพันธเชิงบวกกับบุคคลอื่น โดยการเริ่มตนทักทาย  การสนับสนุนและชวยเหลือ  การรักษา  และพัฒนาความ
สัมพันธระหวางบุคคล  รวมทั้งการใหเกียรติบุคคลอื่น
โดยทั่วไปบุคคลที่มีมนุษยสัมพันธที่ดีมักจะมีคนอยากเขามาหา  มาพูดคุยปรึกษาหารือดวย และที่สําคัญจะไดรับความชวยเหลือ  ความรวมมือในการทํางาน รวมทั้งการไดรับขอมูลขาวสารตาง ๆ จากบุคคลรอบขางดวยเช่นกัน ซึ่งตรงกันขามกับบุคคลที่ไมมีมนุษยสัมพันธ์ กลุมคนเหลานี้หากไปขอความชวยเหลือ  หรือติดตองานกับ   หนวยงานใดมักจะไมมีใครใหขอมูลหรือความชวยเหลือใด ๆ 
ดังนั้น ความมีมนุษยสัมพันธจึงเปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญ และมีผลตอการทํางาน และจัดอยูในกลุมของความสามารถในงาน (Technical Competency) ความสามารถดานความมีมนุษยสัมพันธจึงเปนปจจัยหนึ่งที่ถูกสํามาใชในการประเมินพฤติกรรมการทํางาน  จะเห็นไดวาระดับของพฤติกรรมของผูมีมนุษยสัมพันธในการทํางานจะมีระดับที่แตกตางกันไป  โดยมีระดับที่ต่ำกวามาตรฐานที่กําหนดไปจนถึงระดับที่สูงเหนือเกินกวามาตรฐานที่กําหนด  ดังนี้

ระดับ
ลักษณะพฤติกรรม
1. ต่ำกวามาตรฐานที่กําหนด
    อยางมาก
 
• ไมสนใจที่จะสรางความสัมพันธกับบุคคลที่ไม่เคยรูจัก
• ไมสามารถควบคุมกิริยาทาทาง และน้ำเสียงเมื่อตองเผชิญ
   ปญหาในการติดตอประสานงานกับผูอื่น
• ไมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
2. ต่ำากวามาตรฐานที่กําหนด
 
• เริ่มตนสรางความสัมพันธกับบุคคลที่ไมเคยรูจักมากอน
   เทาที่จําเปน
• รับฟงปญหาของผูอื่นอยางเห็นอกเห็นใจ
• ใหคําปรึกษาแนะนําในการแกไขปญหาตาง ๆ ไดเปนบางครั้ง
3. ตามมาตรฐานที่กําหนด
 
• เริ่มตนสรางความสัมพันธกับบุคคลที่ไมเคยรูจักมากอนอยูเสมอ
• ยอมรับฟงความคิดเห็นและปญหาตาง ๆ ของผูอื่น
• เสนอแนวทางเลือกในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
4. สูง / เกินกวามาตรฐานที่กําหนด
 
• แสวงหาโอกาสในการทําความรูจักกับเพื่อนใหม่
• เต็มใจที่จะใหการสนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิกภายใน และ                      ภายนอกทีม
• รักษาความสัมพันธอันดีกับสมาชิกภายใน และภายนอกทีมอยู่   เสมอ
5. สูง / เกินกวามาตรฐานที่      กําหนดอยางมาก
• สร้าง และรักษาความสัมพันธที่ดีกับเพื่อนใหมไดในทุกกลุม      ทุกระดับ
• รับรู และเข้าใจเหตุผลในการแสดงพฤติกรรมของแตละคน
• ปรับเปลี่ยนกิริยาทาทาง และน้ำเสียงใหเหมาะสมกับบุคคลที่  ติดตอไดในทุกกลุม ทุกระดับ
• ใหคําปรึกษาแนะนํา และแกไขปญหาความขัดแยงระหวางบุคคลทั้งภายในและภายนอกทีม

 

ทั้งนี้ความสามารถดานการมีมนุษยสัมพันธในการทํางานจึงเปนสิ่งที่พัฒนา  และปรับปรุงได  หากคุณรวมมือและพยายามปรับเปลี่ยนตนเองใหมีมนุษยสัมพันธในการทํางานที่ดี  เพราะ        “มนุษยสัมพันธ” นอกจากจะสงผลตอความสําเร็จในการทํางานแลว ยังสงตอสุขภาพจิตในการทํางานของคุณอีกดวย ทั้งนี้ผูที่มีมนุษยสัมพันธในการทํางานที่ดีโดยสวนใหญจะเปนบุคคลที่มองโลกในแงดีหรือมองในดานบวก (Positive thinking) อยูเสมอ   ดังนั้น หลักของ RELATION   จึงเปนอีกแนวทางหนึ่งในการพัฒนาความสามารถดานการมีมนุษยสัมพันธในการทํางานใหเกิดขึ้น  ดังตอไปนี้

 
R             Reality                              เปนตัวของเรา … นําพาความจริงใจ
E             Energetic                         กระตือรือรน … สรางความประทับใจ
L                        Listening                                       รับฟงที่ดี … เขาถึงจิตใจ
A            Adaptability                      ปรับตัวเปนเลิศ … สรางสายสัมพันธ
T             Tolerance                         อดทนสักนิด … ชีวิตสุขสันต
I             Integrity                           มีความซื่อสัตย … สรางความไวใจ
O             Oral Communication        วาจาไพเราะ … รักษามิตรภาพ
N          Networking                        แสวงหาเครือขาย … ขยายมิตรสัมพันธ
 
 
 
1. Reality เปนตัวของเรา … นําพาความจริงใจ
การจะคบหรือรูจักใครสักคน  สิ่งแรกที่สําคัญก็คือ  ความเปนตัวของเราเอง  การแสดงออก  อยางเปนธรรมชาติโดยพฤติกรรมตาง ๆ ที่แสดงออก  ควรมาจากใจ และความเปนตัวตนของเราเอง อยางแทจริง ไม่เสแสรงแกลงทํา ซึ่งสิ่งเหลานี้เองจะเปนเสนหของตัวเราที่จะทําใหคนอื่นอยากเขามาพูดคุย และคบหาสมาคมดวย  มีหลายคนถามมาวา หากเราแสดงความเปนตัวตนของเราเอง  จะทําใหขาดความนาเชื่อถือในการคบหาสมาคมหรือไม?   คําตอบก็คือ ไมแนนอน เพราะความนาเชื่อถือควรจะประกอบดวยหลายปจจัยรวมกัน เชน ความรู ทักษะและความสามารถในหนาที่การงาน การควบคุมอารมณ และความจริงใจ ซึ่งความจริงใจยอมจะเกิดขึ้นจากการแสดงออกจากความเป็นตัวของเราเอง

 
2. Energetic กระตือรือรน … สรางความประทับใจ
ผูที่มีมนุษยสัมพันธที่ดีจะมีความกระตือรือรนที่จะชวยเหลือ การใหความรวมมือ และสนับสนุนการทํางานและกิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้น นอกจากนี้เสนหอีกอยางหนึ่งที่จะสรางความประทับใจ และสรางสัมพันธที่ดี  นั่นก็คือ ความกระตือรือรนที่จะอาสาดําเนินการ  และใหความรวมมือ ความชวยเหลือในการทํางานตาง ๆ โดยไมตองรอใหอีกฝายหนึ่งมารองขอ ความกระตือรือรนที่จะชวยงานไมวาจะเปนงานเล็กงานนอย หรือแมกระทั่งงานใหญ ๆ ก็ตามจะทําใหบุคคลตาง ๆ ที่ทํางานรวม ดวยเกิดความประทับใจและรูสึกยินดีที่จะใหความสนับสนุน ความชวยเหลือ และรวมมือดวยเชนกัน
 
3. Listening รับฟงที่ดี … เขาถึงจิตใจ
อีกคุณลักษณะหนึ่งของผูที่มีมนุษยสัมพันธที่ดีก็คือ การเปนผูฟงที่ดีซึ่งเปนการรับรูขอมูลข่าวสารเหตุการณ และความรูสึกตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากผูอื่นอยางตั้งใจ และเต็มใจ รวมทั้งการไมพูดสอดแทรก และขัดจังหวัดในระหวางการพูด  เทคนิคหนึ่งสําหรับการเปนผูฟงที่ดี และอยากจะขอแนะนํา นั่นก็คือ การไม่พูดถึงบุคคลอื่นในทางที่ไม่ดี พยายามอย่าวิพากษวิจารณผูอื่น หากบุคคลที่เรากําลังสนทนาดวยกําลังวิจารณถึงผูอื่นอยู ขอแนะนําวาใหรับฟงโดยอยาพยายามพูดสนับสนุนหรือพูดขัด   แยงความคิดหรือความรูสึกของบุคคลที่เรากําลังสนทนาดวย  แตควรจะพยายามรับฟงปญหาและเรื่องราวทั้งหมดที่เกิดขึ้น ขอใหพึงตระหนักไวเสมอวา คนบางคนอาจไมตองการความชวยเหลือ เพียงแคขอใหมีใครสักคนรับฟงปญหาหรือความรูสึกที่ไมสบายใจ แคนี้ก็พอแลว  องคกรหรือกลุมที่เราเขาไปด้วย
หากคุณปรับตัวเองได นั่นยอมเปนจุดเริ่มตนที่ดีในการสรางความสัมพันธอันดีกับบุคคลตาง ๆ ผูที่มีการปรับตัวที่ดีโดยสวนใหญจะเปนผูที่มองชีวิตมองโลกในทางบวก มองเหตุผลของการกระทํา
และเขาใจพฤติกรรมที่เขาแสดงออกกับคุณเอง
 
4. Tolerance อดทนสักนิด … ชีวิตสุขสันต
หนทางในการเขาถึงคนเพื่อสรางความสัมพันธที่ดีนั้น ไมใชวาจะโรยดวยกลีบกุหลาบเสมอไป บางครั้งอาจ ตองใชความพยายามในการสราง และรักษาความสัมพันธอันดี และเปนเรื่องที่ตองใชความอดทน และพยายามอยางสูงในการสรางความสัมพันธกับคนที่ปดกั้นตัวเอง และไมยอมเปดรับสมาชิกใหม ความอดทนตอคําพูด และการกระทําตาง ๆ การใหอภัยไมคิดมาก ใจกวางยอมรับฟงคําวิจารณจากผูอื่นอยางจริงใจจึงเปนคุณลักาณะที่สําคัญในการสราง และพัฒนาความสัมพันธใหดีขึ้นได และการที่คุณมีความอดทนอดกลั้นยอมจะทําใหคุณไมใสใจตอคําพูด และพฤติกรรมตาง ๆ ที่ทําใหคุณรูสึกไมสบายใจ หรืออึดอัดใจ เพียงแคนี้ คุณก็มีความสุขกับการดําเนินชีวิตของคุณเอง
 
5. Integrity มีความซื่อสัตย … สรางความไวใจ
บุคคลที่มีความซื่อสัตยไมวาจะเปนทั้งตอตนเอง เพื่อรวมงาน ผูอื่น และงานที่คุณทํา ยอมจะ
สงผลใหคุณ เปนคนนาคบหาสมาคมดวย ผูที่มีความซื่อสัตยยอมเปนบุคคลที่ไววางใจได และการ
เปนที่ไววางใจไดนี้เองจึงเปน คุณลักษณะขั้นสูงที่สามารถพัฒนา และรักษาความสัมพันธอันดีกับบุคคลตาง ๆ ไวได  การสรางความสัมพันธกับบุคคลอื่น อาจเปนเรื่องงาย แตการพัฒนาและรักษาความสัมพันธอันดีไวใหไดนี้เองจึงเปนเรื่องที่ยากที่คุณควรจะทํา

 
6.Oral Communication วาจาไพเราะ … รักษามิตรภาพ
คําพูดที่ดียอมรักษามิตรภาพไวได มีหลายตอหลายคนที่ตองโกรธเคืองกันเพราะคําพูด  มนุษยสัมพันธสามารถสราง และทําใหเกิดไดดวยคําพูด  และในทางตรงกันขามมนุษยสัมพันธสามารถถูกบลลางไปไดก็เพราะ คําพูดเชนเดียวกัน
 
7. Networking แสวงหาเครือขาย … ขยายมิตรภาพ
ผูที่มีมนุษยสัมพันธที่ดียอมจะเปนผูที่แสวงหาโอกาสเพื่อรูจักกับบุคคลใหม ๆ และการสรางความสัมพันธที่ดีกับบุคคลที่เพิ่งรูจัก รวมทั้งการรักษาความสัมพันธอันดีกับบุคคลตาง ๆ ทั้งที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของในสายอาชีพ หรือแวดวงเดียวกัน ซึ่งพฤติกรรมของบุคคลที่ชอบสรางเครือขาย ก็คือ การเขากลุม สมาคม หรือสโมสรตาง ๆ ที่จัดขึ้น  การแนะนําตนเองเพื่อทําความรูจักกับเพื่อใหมกอนเสมอ  รวมทั้งใหความชวยเหลือ  และความรวมมือในการทํางานกับบุคคลตาง ๆ ตลอดจนการติดตามความเคลื่อนไหว  และสถานะการณตาง ๆ  ของบุคคลที่รูจัก
การเสริมสรางมนุษยสัมพันธในการทํางานเปนศักยภาพในการทํางานอีกดานหนึ่งที่สามารถพัฒนาได ทั้งนี้การเสริมสรางและพัฒนาใหบุคคลมีมนุษยสัมพันธที่ดี ยอมตองอาศัยคุณลักษณะรวมหลายประการรวมกันตามที่ไดกลาวไวแลวขางต้น

 
มนุษยสัมพันธที่ดียอมสงผลตอความสําเร็จในหนาที่การงาน  และความสุขในการทํางานรวมกับผูอื่น
 

 
ที่มา : หนังสือ วารสารการบริหารฅน ปที่ 24 ฉบับที่ 3 / 2546
คอลัมน Article หนา 85-88 เรื่องโดย คุณอาภรณ ภูวิทยพันธ

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 9488เขียนเมื่อ 12 ธันวาคม 2005 21:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 14:44 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท