งานแนะแนว : ฝึกงานของนิสิตป.โท


การฝึกงานการให้คำปรึกษา ของนิสิตปริญญาโท สาขา จิตวิทยาการให้คำปรึกษา

<p style="text-align: center" align="center">การฝึกงานการให้คำปรึกษา ของนิสิตปริญญาโท</p><p align="center"> สาขา จิตวิทยาการให้คำปรึกษา ในภาคเรียนที่ 2/2549 </p><p>กองกิจการนิสิต  ได้รับความร่วมมือ  จากภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว   คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  ในการส่งนิสิต ระดับปริญญาโท ระบบปกติ รุ่นปท.27 กำลังศึกษาวิชา Practicum  in  Counseling (การฝึกให้คำปรึกษา1) ในภาคเรียนที่ 2 /2549  จำนวน 4 คน และระบบปกติปี 2 จำนวน 1 คน  ซึ่งเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการให้คำปรึกษา โดยใช้วิธีการให้คำปรึกษาแบบต่างๆ  การฝึกงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการให้คำปรึกษา   งานแนะแนวฯ  กองกิจการนิสิต  เป็นการฝึกทักษะให้เกิดการเรียนรู้ ความสามารถ และทักษะวิชาชีพ  หลังจากได้เรียนทฤษฎีไปแล้ว สำหรับเวลาฝึกงานคือทุกวันพฤหัสบดีเวลา 09.00-12.00 น.  (ระหว่าง 16 พฤศจิกายน 49 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 50 ) </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left" class="MsoTitle" align="left"> </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left" class="MsoTitle" align="left"></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left" class="MsoTitle" align="left"></p>ความคาดหวังของนิสิตในการฝึกงาน <ul> <li class="MsoTitle" style="margin: 0cm 0cm 0pt 18pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 18.0pt">        วิธีการวางตัว ในโอกาสต่างๆ ที่เหมาะสม </li> <li class="MsoTitle" style="margin: 0cm 0cm 0pt 18pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 18.0pt">        วิธีการเผชิญหน้า  การทำตัวอย่างๆเคส </li> <li class="MsoTitle" style="margin: 0cm 0cm 0pt 18pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 18.0pt">        การวางตัวสบายๆ ที่ไม่เกร็งมากเกินไปไหม </li> <li class="MsoTitle" style="margin: 0cm 0cm 0pt 18pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 18.0pt">        หลักการใช้คำถาม  / สะท้อนอารมณ์ความรู้สึก </li> <li class="MsoTitle" style="margin: 0cm 0cm 0pt 18pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 18.0pt">         เมื่อไรควรจะพูด อย่างไร </li> </ul><p> ความรู้สึก ก่อนที่จะมาฝึกงาน</p><p>·       นั่งรอที่จะให้คำปรึกษากับเคสเลย</p><p>·       คิดว่าจะให้คำปรึกษาอย่างไร</p><p>·       จะนำทฤษฎีไหนมาใช้กับผู้มารับบริการได้บ้าง</p><p>·       รู้สึกกลัวและกังวลเกี่ยวกับการให้คำปรึกษา</p><p>·       คิดว่าจะมีห้องเก็บเสียงในการให้คำปรึกษา</p><p>·       คิดว่าจะมีผู้ให้คำปรึกษาหลายคน</p><p>·       พี่เลี้ยงจะเป็นคนลักษณะอย่างไร</p><p>·       การทำงานแนะแนวฯ จะเหมือนห้องปกครองหรือไม่ </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt 36pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 36.0pt" class="MsoTitle" align="left">·       คิดว่าระบบการทำงานที่พร้อมให้นิสิตจะเข้ามาใช้บริการได้ เลย น่าจะมีปัญหาที่หลากหลาย เพราะเป็นช่วงของวัยรุ่น</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt 36pt; text-indent: -18pt; text-align: left; tab-stops: list 36.0pt" class="MsoTitle" align="left"></p> ความรู้สึกในขณะที่ฝึกงานและสิ่งที่ได้รับ <ul>

  •        ได้ประสบการณ์ทางเว็บบอร์ดไขปัญหาสุขภาพจิต
  •        ได้รู้จักการวิเคราะห์  คำถาม เนื้อหา  ข้อความต่างๆ
  •        รู้จักการแยกแยะ อารมณ์ กับปัญหา   รวมถึงแนวทางการให้คำปรึกษา
  •        ได้วิธีการเรียนรู้ต่างๆในการฝึกจริงๆ
  •        ได้เทคนิคในการให้คำปรึกษาอย่างไร
  •        การใช้กระบวนการทางความคิด
  •        ได้รู้จักการเอาใจเขามาใส่ใจเรา
  •        พบเคสจริง ที่มีปัญหาที่หลากหลาย
  •        ได้ทำงานเอกสารและการให้คำปรึกษา
  •        พบว่าเด็กมีพฤติกรรมนิยม เลียนแบบ ชอบการแสดงออก
  •        การให้คำปรึกษาแบบเผชิญหน้า
  •        ได้เป็นวิทยากรร่วมให้กับองค์กรภายนอกมหาวิทยาลัย
  •        ได้ให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล แบบกลุ่ม
  •        เคส การฝึกเขียนรายงานเคสครั้งแรก
  •        ได้รับการฝึกการแก้ไขปัญหา
  •        ได้นำเกมก่อนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้
  •        ได้ค้นพบตนเองทำให้ได้เข้าใจตนเองมากขึ้น
  •        กล้าที่จะพูดมากขึ้น
  •        การยอมรับตนเอง
  •        ได้รับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น
  •        ได้รับการดูแลและการให้คำแนะนำที่ดีจากพี่เลี้ยง
  •        เป็นผู้ที่จะให้ความช่วยเหลือ
  •        เป็นคนที่พูดตรงๆ  แต่ไม่แน่ใจว่าตนเองที่พูดไปจะเหมาะไหม
  •        ได้รูปแบบการให้คำปรึกษาที่หลากกลาย เช่น ทางเว็บบอร์ด  ทางโทรศัพท์ มาพบเป็น
  •        ได้เรียนรู้ทักษะต่างๆจากพี่อนงค์ เช่น ทักษะการสะท้อนอารมณ์ การให้คำปรึกษา การวิเคราะห์
  • </ul>หลังจากฝึกปฏิบัติงานสิ่งที่ได้เรียนรู้ในครั้งนี้ด้านการให้คำปรึกษา <ul>

  •        เทคนิคการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
  •        คิดว่าตนเองมุ่งให้ความช่วยเหลือ
  •        ได้วิธีการตอบเว็บบอร์ด
  •        มองเรื่องต่างๆได้หลายแง่  หลายมุม
  •        ได้ความคิดใหม่ๆ หลากหลาย
  •        รู้ปัญหา การจัดการกับปัญหา
  •        การนำปรับมาใช้ประกอบกับทฤษฎี
  • </ul><p>ปัญหาและอุปสรรค</p><p>·       มีข้อจำกัดเรื่อง ห้องให้คำปรึกษา</p><p>·       ควรจะเพิ่มผู้ให้คำปรึกษา</p><p>·       เพิ่มงบประมาณ</p><p>·       ควรจะมีอุปกรณ์ห้องแนะแนว เช่น เทปบันทึกเสียง  วิทยุ</p><p>·       ในขณะที่ให้คำปรึกษา ขาดข้อมูลเคสเบื้องต้น  ยากต่อการให้คำปรึกษาสำหับผู้ที่ไม่มีประสบการณ์</p><p>·       ไม่ทราบว่าจะให้คำปรึกษาอย่างไร เพราะยังขาดเทคนิค</p><p>แนวทางในการแก้ไขปัญหา</p><p>·       การประชาสัมพันธ์น้อย นิสิตไม่รู้ว่าที่นี่เป็นที่ไหน</p><p>·       ให้ติดป้ายตัวใหญ่ด้านข้างห้องทำงาน</p><p>·       เพิ่มบุคลากรในการทำงาน</p><p>·       ควรจะมีห้องนั่งรอให้คำปรึกษา</p><p>·       ทำห้องที่เป็นห้องเก็บเสียงได้หรือห้องกระจก </p><p>·       เชิญวิทยากรดังๆ เพื่อมาพูด แนะแนวทางนิสิต  จากนั้นงานแนะแนวฯ  จะได้เปิดตัวเพื่อการประชาสัมพันธ์ตัวเอง</p>   <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left" class="MsoTitle" align="left">       การที่ได้มีสถานที่ในการให้นิสิตได้ฝึกประสบการณ์จริงๆ  ทำให้นิสิตได้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาตนเองด้านการให้คำปรึกษา รวมถึงการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร การฝึกความรับผิดชอบ ความมีวินัย  การปรับตัวที่เหมาะสม การที่จะเติบโตไปเป็นนักวิชาชีพ ต้องมีทัศนคติที่ดีไปพร้อมๆกับการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารไปด้วย    สังคมจะมีความคาดหวังมาก ฉะนั้นการเตรียมนับได้ว่ามีความสำเร็จไปกว่าครึ่ง </p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left" class="MsoTitle" align="left"></p><p></p><p>        นี่ก็เป็นเสียงสะท้อนของนิสิตปริญญาโท ในการร่วมกันเป็นกระจกเงา  ให้กับงานแนะแนวฯ ที่จะได้ปรับปรุงและพัฒนา  เพื่อประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานิสิต  ขณะนี้การฝึกงานที่ได้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว  งานแนะแนวฯ กองกิจการนิสิต </p><p>        จึงใคร่ขอขอบคุณภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและแนะแนว  คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ได้กรุณาส่งนิสิตระดับปริญญาโท  รุ่นปท.27 มาฝึกประสบการณ์ ณ งานแนะแนวฯ กองกิจการนิสิต                          </p>

    คำสำคัญ (Tags): #msu-km#งานแนะแนว
    หมายเลขบันทึก: 88554เขียนเมื่อ 4 เมษายน 2007 18:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:55 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (4)

    เรียนทฤษฎีแล้ว มาฝึกของจริง ดีมาก และสามารถนำไปใช้ได้จริงๆ

    น่าชื่นชมกิจกรรมดีๆ ในการทำงานร่วมกัน เพื่อช่วยเหลือนิสิต

    น่าจะทำต่อไปทุกปี

    พี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์ จะทำให้นิสิตฝึกงานมีทิศทางที่ถูกต้อง

    • ขอบคุณค่ะ ในการนำเสนอสิ่งดีๆ และให้กำลังใจในการทำงาน ขอให้มีความสุขเช่นกันค่ะ

    ต้องฝึกปฎิบัติจริงทำให้มั่นใจในตนเองมากขึ้น รู้จริงๆ

    สวัสดีค่ะ

    ขอบคุณมาก เห็นด้วยกับ............

    ต้องฝึกปฎิบัติจริงทำให้มั่นใจในตนเองมากขึ้น รู้จริงๆ

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท