งานวิจัย รูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับสำนักงานตรวจสอบภายในคุณภำพ ของประเทศไทย


งานวิจัย รูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับสำนักงานตรวจสอบภายในคุณภำพ ของประเทศไทย (Model of the Best Practice for Quality Internal Audit Offices in Thailand) ดร.สุรภา ไถ้บ้านกวย, ดร.ประชา ตันเสนีย์, ดร.อนุรักษ์ ไกรยุทธ สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย นำเสนอการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 4 : การยกระดับงานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน 26-28 มิถุนายน 2562 

บทคัดย่อ
        การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสำนักงานตรวจสอบภายใน
คุณภาพของประเทศไทย และ 2.เพื่อจัดทารูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทย ดำเนินการวิจัยโดยการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับสำนักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ตรวจสอบภายในที่เป็นสมาชิกสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการศึกษา จานวนทั้งสิ้น 401 คน คำนวณตามสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และเครื่องมือเป็นแบบสอบถามในการวิจัย สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าการแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการจัดทารูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทย โดยการจัดประชุมสนทนากลุ่ม ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนทั้งสิ้น 30 คน เพื่อพิจารณาแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทย 
         ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้
        1.การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทย ผู้ตอบ
แบบสอบถาม มีจานวน 401 คน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 275 คน คิดเป็นร้อยละ 68.60 มีอายุมากกว่า45 ปี จานวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 35.40 ระดับการศึกษาระดับปริญญาโท จานวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 65.80 มีประสบการณ์ทำงานการตรวจสอบภายในไม่เกิน 5 ปี จานวน 144 คน คิดเป็นร้อยละ 35.91 มีตาแหน่งงานในปัจจุบันที่เป็นเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน จานวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 49.90 โดยเป็นหน่วยงานมาจากภาคเอกชน จานวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 52.40 และ 
          จากการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทยประกอบด้วย ด้านคุณสมบัติสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพ และด้านคุณสมบัติของบุคลากรหลักของสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.55) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านคุณสมบัติของบุคลากรหลักของสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพอยู่ในระดับมาก ( X = 3.61) และ ด้านคุณสมบัติ สำนักงานตรวจสอบภายในคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง( X = 3.49) ตามลำดับ ทั้งนี้จากการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความแตกต่างในด้านระดับการศึกษา กับความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทยเกี่ยวกับคุณสมบัติของบุคลากรหลัก และการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความแตกต่างในด้านตำแหน่งงานกับความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทยเกี่ยวกับ คุณสมบัติสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพพบว่ามีนัยทางสถิติที่ระดับ 0.05
          2.การจัดทารูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทย จากการประชุม
สนทนากลุ่ม พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิได้ประเมินความสอดคล้องเหมาะสมตรงตามเนื้อหาของรูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับ
สานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพของประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเห็นว่า คุณภาพของผู้ตรวจสอบภายในของบุคลากรหลักมีความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพของสานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพ ทั้งนี้สานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพต้องมีหน้าที่ในการกากับคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายในของบุคลากรหลัก ซึ่งที่ประชุมมีความเห็นว่าเป็นไปได้ในทางปฏิบัติให้เกิดผลสาเร็จได้จริงและควรนาไปเผยแพร่แก่สาธารณะชนต่อไป

คำสำคัญ: รูปแบบ แนวปฏิบัติที่ดี สานักงานตรวจสอบภายในคุณภาพ

Abstract
         The purposes of this research were to: 1. Study the opinions of the Best Practice for Quality
Internal Audit Offices in Thailand and; 2. Create the model of the Best Practice for Quality Internal Audit
Offices in Thailand. The population used in the research is as follows: 1. the member of Institute of
Internal Auditors of Thailand with a total sample of 401 Internal Auditors and has been calculated by
using Taro Yamane with 95% confidence level. The research used accidental sampling and using a
questionnaire as a tool in research by statistics that are used to analyze the data, including the
frequency, percentage, mean, standard deviation, t test and one-way analysis of variance (ANOVA). 2.
Focus Group Discussion that was used to analyze the data gathered by 30 Experts who have been
involved in the stakeholders of the Best Practice for Quality Internal Audit Offices in Thailand.
Findings were as follows:
        1. The results of study revealed that the majority of respondent were female amount 275
Auditors or 68.60%, age over 45 years old amount 142 Auditors or 35.40%, education was Master’s
Degree amount 264 Auditor or 65.80%, Experience in Internal Audit more than 5 years amount 144
Auditor or 65.80%, Job title & Position in Internal Audit amount 200 Auditors or 49.90%, and Work at
Company amount 210 Auditors or 52.40% According to the Best Practice for Quality Internal Audit Offices
on the overall was at the high level ( X = 3.55). One of the high level was qualifications of key personnel of the quality internal audit office dimension ( X = 3.61) and Qualifications of Quality Internal Audit Office
dimension ( X = 3.49) was at the moderate level. And the Auditors who differed in demographical
characteristics of educational displayed corresponding differences in qualifications of key personnel of
the quality internal audit office dimension. By the way, the Auditors who differed in demographical
characteristics of Job title & Position in Internal Audit displayed corresponding differences Qualifications
of Quality Internal Audit Offices with colleagues at the statistically significant level of 0.05.
        2. The result of Focus Group Discussion was to consider the Model of the Best Practice for
Quality Internal Audit Offices in Thailand. The meeting was consisted of the key stakeholders in Internal
Audit Experts concluded that the Quality of the Internal Auditor was related the Quality Internal Audit
Offices. By the way, the Quality Internal Audit Offices must have to control the Qualifications of the
Internal Auditor. The Internal Auditors’ roles Model had a great effect on the value added to the
organization in order to be practically successful. The Model should be applicable and able to be used
for the public.
Keywords: Model, Best Practice, Quality Internal Audit Offices

หมายเลขบันทึก: 691826เขียนเมื่อ 7 สิงหาคม 2021 10:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 สิงหาคม 2021 10:31 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท