อำไพ บุญสาร
เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข 6
- เพื่อศึกษาระดับความขัดแย้ง สาเหตุและ การจัดการความขัดแย้ง ของบุคลากรในระดับสถานีอนามัย จังหวัดศรีสะเกษ
- ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ตำแหน่งปัจจุบัน ระยะการดำรงตำแหน่งปัจจุบัน ระยะการปฏิบัติงานทั้งหมด อาชีพคู่สมรส กับระดับความขัดแย้ง
ผลการศึกษา
- กลุ่มตัวอย่างมีความขัดแย้งในภาพรวมในระดับต่ำมากที่สุดร้อยละ 89.7 ส่วนความขัดแย้งในระดับปานกลาง และระดับสูงพบความขัดแย้ง ร้อยละ7.7 และ 2.6 ตามลำดับ
- ด้านการจัดการความขัดแย้งพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีวิธีการจัดการความขัดแย้งในภาพรวม ด้วยวิธีการยอมให้มากที่สุด ร้อยละ 24.5 รองลงมาคือ วิธีการร่วมมือ ร้อยละ 23.9 การหลีกเลี่ยง ร้อยละ 22.6 การประนีประนอม ร้อยละ 21.3 แบะการแข่งขันเอาชนะ
- ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทั่วไปของบุคลากร ไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับระดับความขัดแย้ง
- แม้บุคลากรส่วนใหญ่จะมีระดับความขัดแย้งอยู่ในระดับต่ำ ส่วนความขัดแย้งในระดับปานกลางและระดับสูงมีเพียงส่วนน้อย อย่างไรก็ตามผู้บริหารควรมีการประเมินสาเหตุและระดับความขัดแย้งเป็นระยะๆ และมีความต่อเนื่อง เพื่อจะได้นำผลของการประเมินที่ได้มาใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ของบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จาก บทคัดย่อผลงานวิชาการนำเสนอ
ในการประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี ๒๕๔๙
วันที่ ๔-๖ กันยายน ๒๕๔๙ ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร
เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข 6
- เพื่อศึกษาระดับความขัดแย้ง สาเหตุและ การจัดการความขัดแย้ง ของบุคลากรในระดับสถานีอนามัย จังหวัดศรีสะเกษ
- ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ตำแหน่งปัจจุบัน ระยะการดำรงตำแหน่งปัจจุบัน ระยะการปฏิบัติงานทั้งหมด อาชีพคู่สมรส กับระดับความขัดแย้ง
ผลการศึกษา
- กลุ่มตัวอย่างมีความขัดแย้งในภาพรวมในระดับต่ำมากที่สุดร้อยละ 89.7 ส่วนความขัดแย้งในระดับปานกลาง และระดับสูงพบความขัดแย้ง ร้อยละ7.7 และ 2.6 ตามลำดับ
- ด้านการจัดการความขัดแย้งพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีวิธีการจัดการความขัดแย้งในภาพรวม ด้วยวิธีการยอมให้มากที่สุด ร้อยละ 24.5 รองลงมาคือ วิธีการร่วมมือ ร้อยละ 23.9 การหลีกเลี่ยง ร้อยละ 22.6 การประนีประนอม ร้อยละ 21.3 แบะการแข่งขันเอาชนะ
- ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทั่วไปของบุคลากร ไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับระดับความขัดแย้ง
- แม้บุคลากรส่วนใหญ่จะมีระดับความขัดแย้งอยู่ในระดับต่ำ ส่วนความขัดแย้งในระดับปานกลางและระดับสูงมีเพียงส่วนน้อย อย่างไรก็ตามผู้บริหารควรมีการประเมินสาเหตุและระดับความขัดแย้งเป็นระยะๆ และมีความต่อเนื่อง เพื่อจะได้นำผลของการประเมินที่ได้มาใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ของบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จาก บทคัดย่อผลงานวิชาการนำเสนอ
ในการประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี ๒๕๔๙
วันที่ ๔-๖ กันยายน ๒๕๔๙ ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย นายบอน@kalasin ใน keep in mind by bon
คำสำคัญ (Tags)#research#งานวิจัย#ผลงานทางวิชาการ
หมายเลขบันทึก: 67984, เขียน: 18 Dec 2006 @ 13:13 (), แก้ไข: 11 Feb 2012 @ 16:46 (), สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการ, อ่าน: คลิก
ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก