ตารางสารอาหารในเต้าหู้


สารอาหารในเต้าหู้

สาระสุขภาพ:

ตารางสารอาหารในเต้าหู้

นพ.วัลลภ พรเรืองวงศ์ ศูนย์มะเร็งลำปาง
www.lumpangcancer.com

อาจารย์ ศ.ดร.ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์ได้สรุปตารางสารอาหารในเต้าหู้ไว้ในหนังสือ “กินดีสุขภาพดี: โภชนาการทางเลือกและซูเปอร์อาหารสุขภาพ” ท่านที่สนใจค้นคว้าเพิ่มเติมโปรดดูจาก “แหล่งที่มา” หรือเอกสารอ้างอิง

ชนิดเต้าหู้
น้ำ
(%)
โปรตีน(%)
แคลเซียม (มก.)
ฟอสฟอรัส (มก.)
เหล็ก (มก.)
โซเดียม (มก.)
โพแทส
เซียม (มก.)
ขาวแข็ง
76.7
12.4
42(202)*
157(453)*
3.7
115
156
แข็งเหลือง
75.1
12.2
125***
190
2.6
969
278
อ่อน
(กล่อง)
88.0
6.4
38**
-
0.85
29
-
อ่อน
(ตลาด)
88.3
5.5
37***
62
1.3
35
248
หลอด
92.1
3.8
19
49
1.0
-
-
เต้าฮวย
89.9
2.4
52(142)*
23(34)*
0.2
35
101

หมายเหตุ
q       = เต้าหู้ที่ใช้สารตกตะกอนแคลเซียมซัลเฟต
q       = แคลเซียมในเต้าหู้อ่อนต่ำมาก สันนิษฐานว่า ตัวอย่างที่ใช้อาจไม่ได้ใช้สารแคลเซียมซัลเฟตตกตะกอน
q      
= แคลเซียมสูงกว่าเต้าหู้ขาวมาก สันนิษฐานว่า ตัวอย่างใช้สารแคลเซียมซัลเฟตตกตะกอน
ที่มา: สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

แหล่งข้อมูล:

q       ขอขอบพระคุณ > อาจารย์ศาสตราจารย์ ดร.ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. เต้าหู้. ใน: กินดีสุขภาพดี: โภชนาการทางเลือกและซูเปอร์อาหารสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สำนักพิมพ์แสงแดด. 2548. หน้า 157-175.
สาระสุขภาพ...
q       ยินดีให้นำไปใช้เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า //

q       โปรดปรึกษาแพทย์ หรือบุคลากรสุขภาพที่ดูแลท่าน ก่อนนำคำแนะนำไปใช้ โดยเฉพาะท่านที่มีโรคประจำตัว หรืออยู่ในกลุ่มมีความเสี่ยงต่อโรคสูง // ขอขอบคุณ //

จัดทำ ๑๒ ตุลาคม ๔๘

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 6626เขียนเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2005 09:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:51 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
สุทธิรัก บุญมารอง

อยากได้สารอาหารของเต้าหู้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท