เถียงกันผิดประเด็น



วงการศึกษาไทยพลาดพลั้งอีกแล้ว

ข่าวใน นสพ. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ ๒ ๘ พ.ย. ๖๑ หน้า ๑๗ เรื่อง เปิดประเด็นร้อนผลิตครู ๔ ปี  ๕ ปี   โจทย์เก่า  ศธ. ตอบไม่เคลียร์ ()   บอกผมว่า วงการศึกษาไทยพลาดพลั้งอีกแล้ว

พลาดตรงจับประเด็นผิด    มุ่งจับที่ผลประโยชน์ของ ครูของครู   ของสถาบันผลิตครู   ของครู    ไม่พูดกันเลยเรื่องผลประโยชน์ของนักเรียน    ในบทความไม่เอ่ยหลักฐานว่าอะไรคือปัจจัยหลักให้ครูจัดการเรียนรู้ที่ถูกต้องกับยุคสมัย และได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนตามที่ต้องการ

ผลประโยชน์ส่วนตนมันเป็นม่านบังตาที่ได้ผลชะงัดจริงๆ    เป็นเส้นผมที่บังภูเขาได้มิด

ในความเห็นของผม  จำนวนปีสำคัญน้อยกว่าวิธีจัดการเรียนรู้   ที่บรรลุ attitude, competency, และ knowledge ที่ต้องการของครู

วิจารณ์ พานิช

๘ พ.ย. ๖๑


หมายเลขบันทึก: 658473เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม 2018 18:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 ธันวาคม 2018 18:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

After years of “child centered hypes”, we still have issues with measuring ‘outcome’ (on both delivery and effect) of education programs. We really have causes for concerns if we can’t say which delivery mechanism is better for children – because of different measuring parameters.

Is it not time we settle down to one measuring stick and use that countrywide (until we have compelling reason to change). One measuring stick may be named “TES….” (Thailand Education Standard…)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท