88. การวิเคราะห์ความแตกต่างของ วฐ 1 – วฐ.3 ตาม ว 21 ฉบับวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 กับวันที่ 10 กรกฎาคม 2561


         ตามที่สำนักงาน ก.ค.ศ.ได้ประกาศใช้หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตาม ว 21 และกำหนดให้ใช้แบบคำขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตำแหน่งครู (วฐ.1) ต่อมา ก.ค.ศ.ได้ประกาศใช้ “คู่มือการประเมินให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะและโปรแกรมการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) พร้อมคู่มือการใช้โปรแกรม” ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ.ที่ ศธ 0206.3/185 ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2561 ได้ให้ความเห็นชอบให้ใช้แบบคำขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตำแหน่งครู (วฐ.1) แบบรายงานผลที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ตำแหน่งครู (วฐ.2) และแบบสรุปผลการตรวจสอบและประเมิน ตำแหน่งครู (วฐ.3) ที่ปรับปรุงใหม่ โดยให้ใช้ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม 2561 เป็นต้นไป

          ดังนั้น เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างของแบบ วฐ.ที่ประกาศใช้ทั้ง 2 รุ่น จึงได้นำมาวิเคราะห์ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ดูที่

20180902095351.docx

หมายเลขบันทึก: 651337เขียนเมื่อ 2 กันยายน 2018 09:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 กันยายน 2018 09:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท