ญาณ ๑๖


            การลำดับญาณ ในญาณ ๑๖ หรือ โสฬสญาณนั้น เป็นการทำให้เข้าใจขั้นตอนในการปฏิบัติก้าวหน้าหรืออยู่ในลำดับใด ต่อไปนี้จะเป็น ลำดับญาณที่เหลือจาก ๒ ตอนที่แล้ว

           ญาณที่ ๑๑ สัขารุเบกขาญาณ 

           ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า จะหนีไปไหนก็ไมพ้นเพราะมีแต่การปรากฎของนามรูป จิตจึงกำหนดรู้ดวยความวางเฉยได้ และไม่ยินดียินร้ายในนามใดๆ ญาณนีี้ปรากฎทั้งในพระไตรปิฎก และออรถกถา เช่นกัน ญานี้จัดว่าได้ถึงที่สุดแล้วและมีอีกื่อว่าสิขาปัตตสังขารุเปกขา พราะเป็นสุดยอดของโลกียญาณ

           เมื่อจิตยึดรูปนามเป็นอารมร์ โดยกำหนดอารมร์ต่างๆ ได้อย่างหมากหลาย สม่ำเสมอ เพลิดเพลิน คล่งแค่ว ง่ายดายอย่างย่ิง และใจสงบดีเป็นที่สุด ใสขณะเดียวกันยังสามารกำหนดสภาวะต่างๆ ได้ดีากโดยไม่ยินดียินร้ายต่อทุกขเวทนาหรือสุขเวทนา ได้ทั้งเร็วและ้าได้ทั้งชัดและเบลอ ด้วยควมสงบวางเฉยต่อทุกอารมณ์อย่างเท่าเที่ยมกันโดยไม่เผลอสติจากรูปนาม จิตีพฃะกำลังต่อความเพียรกำหนดเต็มที่อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งทำให้นิวรณืทั้งหลายสงลลง จนในที่สุดกำหนดรูปนามไ้ดีเยี่ยม พร้อมกับนั่งสมาธิได้ยาวนนกว่าปกติ แม้ว่าจะมีเวทนารุนแรงที่สุดมารบกวน ความปวดก้ไม่กระทบกรือเข้าถึงจิตที่วางเฉยได้

            ในช่วงนี้โยคีอาจจะนอนไม่ค่อยหลับหรืออาจนอนเพียงไม่กี่ชั่วโมง เรพาะจิตจะตื่นตวโดยไมรู้สึกอ่อนเพลียเลย ในาณนี้สำนวิปัสสนาบางแห่ง จะให้ผู้ปฏิบัติเจริญการกำหนดนั่งไปตลอด ๒๔ ช.ม. โดยไ่ต้องนอนเป็นเวลาหลายวัน เพราะโยคีมักจะเพลิดเพลิน และไม่มีอารมณ์อยากพักผ่อนหรือรู้สึกง่วงเลย นอกจากนั้นผุ้ปฏิบัติที่มีโรคภัยไข้เจ็บบางอยาง เมื่อถึงญาณนี้โรคร้ายนันอาจจะบรรเท่าเบาคลายลงมาก หรือโรคเรื่อร้งอาจหายไปเลยก้มีปรากฎอยุ่

             ในกรณที่โยคีท่านมาติดอยู่ในสภาวธรรมของสังขารุเบกขาญาณเป็เวลานาน โดยไมปรากฎสถาวะธรรมใหม่ๆ และคงมีแต่สภาวะเก่าๆ เดิมๆ เนื่องจาก สาเหตุ  ๖ ประการคือ

             ๑ เคยตั้งเจตนาปรารถนาพุทะภูมิ ถ้าผุ้ปฏิบัติต้องการและยังยึดมั่นในการปรารถนาพุทะภูมิอย่างแน่วแน่แล้ว จะต้องหยุดปฏิบัติเพียงแค่วิปัสสนาญาณที่ ๑๑ นี้เท่านั้น แต่ถ้าตองการเดินหน้าสู่พระนิพพาน ในผู้ปฏิบัติอธิษฐานถอนพุทธภูมิ ทั้งที่จำได้หรือจำไม่ได้ก็ตาม ต่อหน้าพระประธานเพื่อพัฒนาสู่ญาณขึ้นต่อไป

             ๒ เคยล่วงเกิดบูรพการี เช่น มารดา บิดา พระอุปัชฌาย์ ครูบาอารย์ ให้ได้รับทุกข์โทมนัน และเจ็บช้ำน้ำใจมก่อน ทั้งตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ให้ทำพิธีขอขมาลาโทษ ต่อบุคคลผุ้มีพระคุณเหล่านั้นเสียก่อน 

             ๓ เคยตำหนิล่วงเกินพระอริยยบุคคลทั้งต่อหน้าและลับหลัง โดยจะทราบหรือไม่ก็ตาม นับเป็นอริยุปาท จำต้องของขาต่อหน้าพระประธาน

             ๔ เคยทำศีลวิบัติ สำหรับฆราวาสในหสมาทานและรักษาศีลใหม่ ถ้าเป็ฯพระภิกษุที่ต้องอาบัติปาราชิกแล้ว ต้องลาสิกขามาเป็นฆราวาส และปฏิบัติต่อไปก็จะผ่านญานนี้ไปได้ แต่ถ้าต้องอาบัติที่ต่ำกว่า ก็๖้องปฏิบัติตมพระวินัยเช่น อยู่ปริวาสหรือแสดงปลงอาบัติั้นๆ 

             ๕ เคยทอนันตริยกรรม ๕ การทำกรรมหนัก เช่น ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ ประทุษร้ายต่อพระเจ้าฯ หรือ ทำให้เกิดสังฆเภท ไม่สามารถปฏิบัติไปถึงญาณที่สุงกว่านี้

             ๖ เคยตั้งเจตนาปรารถนาเป็นพระโพธิสัตว์ เพือช่วยเหลือผุ้นและไม่ต้องเข้าสุ่พระนิพพา ใกรณีนี้ห้วิปัสนาจารย์ ถามเจตนาของผุ้ปฏิบัติ หาากต้องการถอนก็ให้อธิฐานถอนได้   

              แม้ว่าบางท่านจำไม่ได้ว่าเคยทำเหตุ ๖ ประการที่ขวางกั้นพระนิพพานใดไว้ในอดีต แต่มีความแน่วแน่ต่อการปฏิับัติสุ่ญาณที่สูงขึ้น เพื่อเข้าถึงพระนิพพาน ให้ผุ้ปฏิบัติอธิษฐานกบ่าวคำขออโหสิกรรม และคำถอนพุทธภฺมิต่อหน้าพระประธานได้เช่นกันดดยไม่มผลเสียใดๆ..

              ญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณ 

             ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นในการคล้อยตามรูปนาจากลำดับญาณเร่ิ่มต้นจนถึงญาณสูงสุดผน้อยไปหาก) ซึ่งญาณนี้มีอีกชื่อว่าสัจจานุโลิกญาณ ญาณนี้ได้ปรากฎในพระไตรปฎิก  ส่วนในอรรถกถาใช้ชื่อเียวกันว่า  อนุโลญาณ สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ เหมือนกันกับขันติญาณ เนื่องจากญาณนี้อยู่ติดกับอริยมรรค จึงมชื่ออีกอย่างว่ วฺฎฐานคามินีวิปัสสนา ที่หมายถึงวิปัสนาที่กำลังจะเข้าถึงอริยมรรคประกอบด้วยญาณ ทั้ง ๓ คือสังขารุเปกขอาญาณ อนุโลมญาณ และโคตรภูญาณ

           โยคีที่ติดค้งอยุ่ในญาณที่ ๑๑ หลังจากอธิษฐานจิตถอนพุทธภูมิและขอขมาแล้ว โยคีจะเกิดสภาวะรใหม่ๆ ทำให้จิตเคลื่อนขึ้นสู่ญาณที่ ๑๒ ได้ เมื่อจิตได้ใช้พาหนะคือูปนาที่พัฒนาจนปัญญามาถึงจุดสูงสุดแล้ว แตด้วยกำลังที่ยังไม่เพียงพอที่จะสลัดท้ิงรุปนาม ในการเข้าสู่อารมณ์พระนิพพาน จิตต้องอาศัยอความบริบูรณ์ในการทบทวยของญาณ โดยถอยกลับไปเร่ิมต้นในญาณต่ำขึ้นไปสูญาณสูง ตั้งแต่อุทพยัพยญาณ(๔) ถึง สังขารุเบกขาญาณ(๑๑) ที่โยคีเคยผ่านมาแล้วอีกรอบหนึ่ง โดยมรูปนามหรือสังขารเป็นอารมร์ และจะไมถอยกลับสู่ญาณเบื้องต่ำอีกแล้วจากนั้นจิตจะรวบรมพละกำลังเป็นครั้งสุดท้าย ด้ยดพธิปักขิยะรรม ๓๗ ประการที่ประชุมพร้อมกัน และมีอินทรีีย์เต็มเปี่ยมจากธรรมสังคีเสมอกันในขณะจิตเดรีย เพื่อเป็นฐานผลักดันจิตให้เคลื่อนเข้าสุ่อารมร์พระนิพพาน

           ญาณที่ ๑๓ โคตรภูญาณ 

           ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรูเห็นพระนิพพานที่ตัดขาดจากโคตรปุถุชนเปลี่ยนเป็นโคตรอริยชน ญาณนี้ปรากฎในพระไตรปิฎก สภาวะจิตของโยคีจะมีนิพพานเป็นอารมร์ เพื่อข้ามพ้นโคตรปุถุชน บรรลุถึงอริยชน ดดยไม่หวนกลับไปอีก ถ้าปฏิบัติต่อจนได้บรรลุถึงพระสกิทาคามี, พระอนาคามีและพระอรหันต์ เมื่อมาถึงญาณนี้ จะเรีกว่า โทานโคตร ไม่เรียกว่ โคตรภู เพราะท่านได้เคยปฏิบัติข้ามโคตรปุถุชนเป็นอริยชนมาก่อนแล้วในรอบแรก

              ญาณนี้คือการเคลื่อนของจิตที่อยุ่ในช่วงระหว่างฝั่งของรูปนามกับพระนิพพาน แม้รู้นามจะมีนิพพาเป็นอามร์ แต่ก็ยังไมได้ทำลายกิเลสเพราะอยุ่ในขณะจิตที่กำลังจะทิ้งรูปนาม แต่จิตก็ยังไม่ได้เคลื่อเข้าสุ่อารมณ์พระนิพพาน (ญาณที่ ๑๔ คือมรรญาณ) ดังเช่น นคนที่ใช้ไม้้ำยันลงไปในน้ำเพื่อช่วยพาตัวกระโดดจากเรือข้ามน้ำไปสู่พื้นดิน โคตรญาณคือช่วงขณะที่กำลังลอยตัวกลางอากาศ และกำลังทิ้งไม่ไผ่ที่ใช้ค้ำยันกระโดด โดยที่ตัวเองยังไม่ได้ลงถึงพื้นดิน หากเปรียบเทียบกับการปฏิบัติ รูปนามคือไม้ำยัน จิตคืน ส่วนอารมณ์พระนิพพานคือฝั่งที่ลไปถึง

             ในโคตรภูญาณ อารมณ์ที่ปรากฎก่อนที่จะเคลื่อนเข้าสูความดับของรูปนาม หรือ ทางเข้าสู่พระนิพพาน ๓ ประเภท มีดังนี้

             - รูปนามแสดงห้เห็นถึงความไม่เทียง โดยการเกิดดับของรูปนามจะมีมาก เร็ว และสั้นจนถึงที่สุด สำหรับผู้ทีเคยสะสมบรมทางสีมาก่อน เรียกว่า เข้าทางอนิจจัง ด้วยการหลุดพ้นทางอนิมิตตวิโมกข์

             - รูปนามแสดงให้เห็นถึงความเป็นทุกข์ โดยทุกขเวทนา(คัน แน่น หรือปวด) จะเกิดมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงที่สุด สำหรับผู้ที่เคยสะสมบารฒี ทางสมาธิมาก่อน เรียก่า เข้าทาทุกขัง ด้วยการหลุดพ้นทางอัปณิหิตวิโมกข์

             - รูปนามแสดงให้เห็นถึงความไม่มีตัวตน โดยรูปนามจะแผ่วเบาละเอียดจสถึงที่สุด สำหรับผู้ท่เคยสะสมบารมีทางปัญญามาก่อน เรียกว่า เข้าทางอนัตตา ด้วยการหลุดพ้นทาง สุญญตวิโมกข์...https://www.vipassanathai.org/...


             

คำสำคัญ (Tags): #ญาณ ๑๖
หมายเลขบันทึก: 645935เขียนเมื่อ 24 มีนาคม 2018 13:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มีนาคม 2018 13:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท