บ้านกุสลา
นาย สมเกียรติ ลุงจิม เจียรอุทัยธำรงค์

ก่อนตายคนเราคิดอะไร


ก่อนตายคนเราคิดอะไร[1]     ผู้เขียนได้แปลจากบทความของ Bronnie Ware[2]

 

  • ถ้าย้อนเวลาไปได้ ฉันจะทำตามที่ฝัน จะไม่ทำตามที่สังคมต้องการ
  • ฉันไม่ค่อยได้ให้เวลาลูกเมียเลย
  • ฉันไม่เคยเป็นตัวของตัวเองเลยต้องเก็บความรู้สึกเพื่อจะได้อยู่ร่วมในสังคมได้
  • ฉันละเลยต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนฝูง จนเวลานี้ถึงเริ่มนึกถึงเพื่อนฝูงขึ้นมา
  • เวลาที่ผ่านมาของฉันไม่มีความสุขเท่าที่ควร เพราะกลัวการเปลี่ยนแปลง

[1] รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [email protected] กรุงเทพธุรกิจ วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

[2] ประวัตินักเขียนผู้นี้เคยทำงานดูแลผู้ป่วยที่รู้ตัวว่าจะเสียชีวิตและกลับไปอยู่ที่บ้านเพื่อรอวันตาย โดยเธอจะอยู่กับผู้ป่วยเหล่านี้ในช่วงสามถึงสิบสองสัปดาห์สุดท้ายก่อนที่ผู้ป่วยจะเสียชีวิต โดยในช่วงเวลาดังกล่าว เธอได้มีโอกาสพูดคุย และรับฟังความในใจของผู้ป่วยเหล่านี้ เมื่อถามถึงสิ่งที่เสียใจหรือสิ่งใดๆ ก็ตามที่ถ้าทำได้อยากจะย้อนอดีตไปเปลี่ยนแปลงนั้น เธอพบว่ามีอยู่ห้าประเด็นที่มักจะพบในผู้ป่วยที่กำลังใกล้เสียชีวิตเป็นส่วนใหญ่ครับ

 

คนรัก ตาย ทำไงดี[1]

  • คนไทยเป็นกันมาก โรคนี้
  • ผู้หญิงเป็น นานกว่า ผู้ชาย
  • อาการหลังรับรู้ข่าวการตาย จะต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ
    • ตายแบบไหน
    • รักคนตายมากเท่าไร
    • ใจตนเองได้คิดเตรียมรับเรื่องนี้ไว้รึยัง
  • ทางแก้ไข
    • เวลาจะเยียวยา
    • มีคนรับฟังเรื่องในใจตน
    • ธรรมะชโลมใจ เข้าใจความจริง เชื่อเรื่องกฎของกรรม
    • หยุดหมกมุ่น โละของใช้ที่สื่อถึงคนตายถวายวัด
    • การเตรียมใจไว้ล่วงหน้าจึงเป็นทางที่ดีและถูกต้องที่สุด

[1] เยาวนาฏ ผลิตนนท์เกียรติ. สุขภาพจิต 15 “สุขภาพจิตสตรีไทย”. โรงพิมพ์การศาสนา. 2535, หน้า 29 - 31.

ความตาย

  • แบบจิตนิยม กล่าวว่า ความตายเป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนของจิต ดังนั้น ชีวิตคือการเคลื่อนตัวของจิตซึ่งมีตัวตนแต่ถูกขังไว้ในร่างกาย องค์ประกอบชีวิต[๑] มนุษย์มีจิตวิญญาณ รู้ร้อนหนาว ต่างจากก้อนหิน หลักจิตนิยมเชื่อว่า มนุษย์ประกอบไปด้วย กาย กับ จิต กายเกิดกับ ส่วนจิตเป็นอมตะ[๒]
  • แบบสสารนิยม ชีวิตคือการเคลื่อนตัวของวัตถุ เคลื่อนไปในช่วงเวลาหนึ่งแล้วก็ต้องตายเชื่อว่า เมื่อตายลง จิตจะกลายเป็นน้ำ[๓]

[๑] วิทย์ วิศทเวทย์.ปรัชาทั่วไป พิมพ์ครั้งที่10,(กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์,2523),หน้า 46-48

[๒] เรื่องเดียวกัน หน้า 58

[๓]  Choron,Jacque. Death & Western Thought (New York : Collin Book, 1973), p36.

ปรุงแต่งจิตใต้สำนึก

  • ช่วงอายุ 2-6 ปี ป้อนสิ่งดีให้จะส่งผลตลอดชีวิต
  • วิธีการเก็บบันทึกข้อมูลในจิตใต้สำนึก มี 3 วิธี คือ
  • สรุป ในการบำบัดด้วยการสั่งจิตใต้สำนึกจะใช้ทั้ง 2 วิธี คือ การทำให้ผ่อนคลายจนเข้าสู่ภวังค์ แล้วมีการพูดซ้ำๆ ใส่คำพูดดีๆ ที่เป็นบวกเข้าไป แต่ถ้ามีเรื่องไม่ดี ให้ดึงออกก่อน

a.       ทำเป็นประจำซ้ำๆ  เด็กในท้องรับอารมณ์แม่ซ้ำๆ 270 วัน

b.       ทำสมาธิ

c.       ก่อนนอน ช่วงใกล้หลับ จิตใต้สำนึกจะเปิด

The  Wheel  of  Life[1]

 

เมื่อเราป่วย หรือไปเยี่ยมคนป่วย สิ่งที่ต้องทำ คือ พูด อธิบาย ให้เขาและเธอ เข้าใจได้ว่า ชีวิตยังไม่สิ้นสุด ยังต้องไปต่อหลังจากความตาย ความดีเธอได้ทำมา มันจะส่งผลให้ไปดี

[1] แพทย์หญิงเอลิซาเบธ  คูปเปอร์ รอส แปลโดย   เสาวนีย์  เนาว์ถิ่นสุข สำนักพิมพ์เรือนบุญ

 

หมายเลขบันทึก: 643016เขียนเมื่อ 5 ธันวาคม 2017 11:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 ธันวาคม 2017 11:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท