"งบค่าเสื่อม"


"งบค่าเสื่อม" 
เมื่อ review เป็นเรื่องที่น่าสนใจอยู่ใกล้ตัวแต่ดูเหมือนห่างตัวเรามาก จนคนทำงานแทบไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจ

เป็นงบที่ใช้ในการจัดซื้อจัดหาอุปกรณ์ทดแทนจากของเดิมที่เสื่อมหรือใช้ไม่ได้ หรือใช้ในโรงพยาบาลที่มีศูนย์ Excellent Center ที่ต้องซื้ออุปกรณ์เครื่องมือราคาแพง เช่น ศูนย์หัวใจ

"การกันเงินค่าเสื่อมต้องชัดเจนว่าจะใช้ทำอะไร เช่นซื้อเครื่องมือทดแทนที่มีราคาสูงที่ต้องการพัฒนาเป็นศูนย์เฉพาะเช่นศูนย์New born ศูนย์หัวใจแต่ต้องอาศัยการวางระบบที่สัมพันธ์กับการส่งต่อทั้งระบบ"--

"งบค่าเสื่อม" จะต้องนำมาใช้ให้ถูกวัตถุประสงค์จริง มีความเสี่ยงคือ การนำไปใช้ผิดประเภท?

เส้นทางการกระจายงบ เริ่มจาก สปสช.มอบเป็นเงินก้อนให้กับเขต (ค่อนข้างจำนวนมาก?) ส่วนหนึ่งอยู่ที่เขต (ผู้ตรวจดูแล) จากนั้นจ่ายลงจังหวัด-->รพท.--> รพช.-->รพ.สต.

คำถามการวิจัย; การบริหารจัดการ "งบค่าเสื่อม" ในองค์กรแต่ละแห่งที่ผ่านมาเป็นอย่างไรมีความสอดคล้องกับ พรบ.หลักประกันสุขภาพหรือไม่อย่างไร

#Noteความคิด

- ไม่มีการวางระบบการบริหารจัดการชัดเจน
- ต้องใช้ในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยโดยตรง
- สปสช. ไม่ใช่ผู้กำหนด หากแต่เป็นพื้นที่จัดสรรกันเอง
- เสี่ยงต่อการใช้เงินผิดประเภท

**Gap ที่เกิดขึ้นนำมาสู่การศึกษาและทำวิจัยเพื่อดูในเรื่องการบริหารจัดการงบประมาณในองค์กรได้ #KMR2R


#KMUC
ที่มา:
ที่มา ; พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ 2545 http://ebook.dreamnolimit.com/...

12-07-60


หมายเลขบันทึก: 631113เขียนเมื่อ 16 กรกฎาคม 2017 05:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 กรกฎาคม 2017 05:31 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท