เกษตรประณีต นาโยงโมเดล ตอบโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน


คนตำบลเกาะสะบ้า ลุกขึ้นมาประกาศจะพัฒนารายได้เฉลี่ยต่อปี ของสมาชิกให้เท่ากับรายได้เฉลี่ยประชาชนไทย ในปี 4 ปีข้างหน้า เพราะมั่นว่า เศรษฐกิจฐานรากต้องพัฒนาจากครอบครัว

<p “=””>พื้นตำบลเกาะสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง เป็นพื้นที่ปฎิบัติการของคน วปช (วิทยาลัยป้องกันชุมชน)ได้ลงพื้นที่มา ชวนคุย ร่วมคิด ค้นทุน ของชุมชน ตามทฤษฎี AI </p> </p>

Appreciative Inquiry

<p “=””>https://www.gotoknow.org/posts/314324
</p> <p “=””>ที่ไ
ด้เรียนรู้จากบันทึกของอาจารย์ ภิญโญ รัตนาพันธ์ คนบ้านโกว์ G2K ซึ่งเราค้นพบว่า ที่บ้านเกาะหยี ตำบลโคกสะบ้าแห่งนี้ มีทุนทางสังคมสูง ทุนทรัพยากรสิ่งแวดล้อมมีมาก ทุนประเพณีวัฒนธรรมก็หลายหลาก ทุนวิถีชีวิตที่คงมีวิถีแบบดั้งเดิมเหลืออยู่ ทุนภูมิปัญญามุขปาฐะ โนรา หนังตลุงมีสืบทอด ตลอดจนทุนวิถีเกษตรที่หยั่งรากฝังลึก เว้นการ ว่างกิจจากอาชีพหลักคือกรีดยาง ก็ชวนกันมาใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ก่อเกิดรายได้เพิ่มโดยการปลูกผัก”หีดหุ้ย” (เล็กๆน้อยๆ) จนเห็นรายได้ขยายเป็นแปลงผักรอบบ้าน ทีมคน วปช.มาต่อยอดความคิด มาติดตาเสียบกิ่งก้าน และพรวนรากให้แตกหน่อต่อยอด ตามหลักนักวิชาการประชาชน คือทฤษฎี “ยอน”ออกมาเป็น แผนแม่บท “นาโยงโมเดล” ในวันนี้…..
คนตำบลเกาะสะบ้า ลุกขึ้นมาประกาศจะพัฒนารายได้เฉลี่ยต่อปี ของสมาชิกให้เท่ากับรายได้เฉลี่ยประชาชนไทย ในปี 4 ปีข้างหน้า เพราะมั่นว่า เศรษฐกิจฐานรากต้องพัฒนาจากครอบครัว สื่อไปถึงระดับนโยบายว่า “เศรษฐกิจฐานราก เราทำแล้ว เราทำได้ เรามีความสุข”
“เศรษฐกิจฐานราก รากฐานคือครอบครัว”

</p>

หมายเลขบันทึก: 621523เขียนเมื่อ 15 มกราคม 2017 20:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 มกราคม 2017 20:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ตามมาชื่นชม

ที่นาโยงน้ำไม่ท่วมหรือครับ

เรียนอาจารย์ ขจิต นาโยง น้ำลดแห้งแล้ว

มาทำกิจกรรมเกษตรประณีต กับทีมงานอาจารย์ ชัยพร จันทร์หอม

ดุแลสุขภาพ ด้วยนะคะ

ขอบคุณ น้องพยาบาล ปัตตานี

ทค่ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท