การสังคมสงเคราะหเฉพาะราย


การสังคมสงเคราะหเฉพาะราย (Social Case Work)

มีนักการศึกษาทางสังคมสงเคราะหหลายทานไดใหความหมายของการสังคมสงเคราะหเฉพาะราย ตางๆกันดังนี้

Mary Richmond ซึ่งเปนผูใหกําเนิดงานสังคมสงเคราะหเฉพาะรายไดใหความหมายไววา สังคม- สงเคราะหเฉพาะรายเปนศิลปะของการใหความชวยเหลือบุคคลแตละคนเปนรายๆไป โดยการชวยเหลือให เขาไดพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง และปรับตนเองใหเขากับสภาพแวดลอม เพื่อสามารถมีชีวิตอยูในสังคม ไดดวยความผาสุก Helen H. Pearlman กลาววา การสังคมสงเคราะหเฉพาะรายเปนกระบวนการที่องคการหรือ หนวยงานจัดดําเนินการอันเกี่ยวกับสวัสดิภาพของบุคคล ทั้งนี้เพื่อชวยใหบุคคลแตละรายแกปญหา ของตนในดานการทําหนาที่ทางสังคมอยางมีประสิทธิผล Florence Hollis ใหความหมายวา สังคมสงเคราะหเฉพาะราย คือ วิธีการที่นักสังคมสงเคราะห นํามาใชชวยเหลือบุคคลแตละคนใหสามารถแกไขปญหาที่กําลังเผชิญอยูซึ่งเปนปญหาที่เกี่ยวของกับ การปรับตนเองใหเขากับสังคมและสิ่งแวดลอม และเปนปญหาที่บุคคลนั้นไมสามารถแกไขหรือจัดการ กับปญหาในทางที่เหมาะสมไดดวยตนเอง

สวนนงลักษณเทพสวัสดิ์ ไดกลาวถึงการสังคมสงเคราะหเฉพาะรายไวดังนี้ สังคมสงเคราะหเฉพาะรายเปนวิธีที่เกาแกที่สุดที่ใชในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะหจุดหมายหลัก ก็เพื่อชวยเหลือบุคคลและครอบครัวที่ประสบความทุกขยาก เดือดรอน ไมสามารถชวยเหลือตนเองไดเปน รายๆไป ทั้งนี้โดยอาศัยสัมพันธภาพทางวิชาชีพระหวางนักสังคมสงเคราะหเฉพาะราย(Social Case Work) จรรยา เจตนสมบูรณ การสังคมสงเคราะหกับการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติด 7 กับผูรับความชวยเหลือ หรือผูประสบปญหา (Client) เปนสื่อกลางที่สําคัญในการดําเนินงานชวยเหลือ ทั้งอาศัยศิลปะ วิธีการทางวิทยาศาสตร(Scientific method) ทักษะ และเทคนิคในการใหความชวยเหลือ ตลอดจนการนําทรัพยากรตางๆ(Resource) ทั้งทรัพยากรในตัวผูมีปญหาซึ่งไดแก ความสามารถ ความคดิ และวิจารณญาณของเขา ประกอบกับการใชทรัพยากรที่มีอยูในสังคม (Social Resource) คือวัตถุสิ่งของ เงิน บริการทางสังคมตางๆ (Social Service) และนักวิชาชีพหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานที่เกี่ยวของกับ ปญหาความตองการและสถานการณของผูรับการชวยเหลือ อาทิเชน จิตแพทยนักจิตวิทยา นักกายภาพบําบัด นักอาชีวบําบัด นักการศึกษา นักกฎหมาย ฯลฯ มาใหบริการ โดยการใหการรวมมือ ซึ่งกันและกัน ในการดําเนินงานใหบรรลุจุดมุงหมายของการชวยเหลือโดยหาทางตอบสนองความตองการ ของบุคคล ครอบครัวที่ประสบความเดือดรอน ทั้งนี้เพื่อชวยใหเขาสามารถปฏิบัติหนาที่ตามบทบาท ทางสังคมไดอยางเหมาะสม มีความสัมพันธทางสังคมอยางราบรื่น สามารถเผชิญกับปญหาในการ ดํารงชีวิต โดยรูจักปรับปรุงและพัฒนาบุคลิกภาพ สามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติจิตใจ และพฤติกรรมของ ตนเองใหเขากับสถานการณและสภาพแวดลอม ตลอดจนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และเปนที่ยอมรับของ สังคม สามารถดํารงชีวิตอยูไดดวยความสงบเรียบรอย มั่นคง และผาสุกตามอัตภาพ โดยไมสรางภาระ ใหกับสังคม แตเปนการชวยสังคมใหพัฒนาตอไปอีกดวย ทฤษฎีการสังคมสงเคราะหเฉพาะราย (Social Case Work and its Theories)

1. ทฤษฎีทางดานจิตใจและสังคม (Psycho Social Theory)

2. ทฤษฎีการแกปญหา (Problem Solving Theory)

3. ทฤษฎีการปฏิบัติหนาที่ (Function Theory)

4. ทฤษฎีการปรับพฤติกรรม (Behavior Modification Theory)

หมายเลขบันทึก: 618785เขียนเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2016 16:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2016 16:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท