การทำงานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ระดับชุมชน​


การทำงานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ระดับชุมชน

การทำงานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ระดับชุมชน

การบริการสังคมสงเคราะห์ชุมชนและครอบครัว เพื่อให้กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์ที่ปฏิบัติงานครอบครัวและชุมชน นำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานการสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ระดับปฐมภูมิ เป็นการปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์โดยใช้รูปแบบครอบครัวและชุมชน เป็นฐาน มีสมาชิกในครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของกระบวนการสังคมสงเคราะห์ ให้ครอบครัวสามารถทำหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ เสริมสร้างให้ครอบครัวมีอำนาจในตนเอง ผู้สนับสนุนการบริการ (supporter) บทบาทผู้กระตุ้น (stimulator) การกระตุ้นให้สมาชิกครอบครัวเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ บทบาทผู้ให้การศึกษา (educator) ผู้ให้คำแนะนำ (counselor) และผู้อำนวยความสะดวก ( facilitator) เช่น สนับสนุนให้ศูนย์บริการต่าง ๆ ในชุมชนจัดบริการเชิงป้องกันและพัฒนาสมาชิกในครอบครัว โดยการให้ความรู้และกิจกรรมอื่น ๆ ตามความต้องการของสมาชิกในชุมชน ตลอดจนการสร้างเครือข่ายของสมาชิกในครอบครัวกับชุมชน พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิ์ ประสานและการจัดการทรัพยากร การส่งต่อเครือข่ายบริการสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ติดตามประเมินความพร้อมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน

หมายเลขบันทึก: 618782เขียนเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2016 16:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2016 16:33 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท