เศรษฐกิจพอธรรม


เศรษฐกิจพอธรรม

การทำธุรกิจการค้าการเกษตรนั้นเราต่างมุ่งผลกำไรสูงสุด ซึ่งไม่ผิดอะไร เพียงแต่ต้องรักษาศีล ๑ ข้อของนิกายถางให้เป็นธรรมที่พอดี เรียกว่า พอธรรม คือ ต้องไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น

...การเบียดเบียนผู้อื่นคือทิศหก หมายถึงลูกจ้าง(ไม่เอาเปรียบค่าแรงงาน) คู่แข่ง(ไม่กลั่นแกล้งเขา) คู่ค้า (ไม่รีดราคาเขา) ลูกค้า(ค้ากำไรเกินควร)เป็นต้น

<p “=”“>…การเบียดเบียนตนเอง ฟังยากมาก หมายถึง ไม่สร้างความเครียด”(หรือทุกข์) ให้ตนเอง ซึ่งเป็นความเครียดเชิงนามธรรมที่มีมูลมาจากความโลภเป็นหลัก โลภอยากกำไรให้มากขึ้นในทุกสถานการณ์เป็นต้น แต่แบบพอธรรม คือ กำไรเท่าไรเอาเท่านั้น ขาดทุนก็ยอมรับ แต่ไม่ว่ากำไรหรือขาดทุนก็ต้องมาวิจารณ์ตนเองว่า บกพร่องอะไรตรงไหนอย่างไร เพื่อแก้ไขไปหาให้ดียิ่งขึ้น ทั้งหมดนี้บนพื้นฐานของธรรมะ มีสติ สัมปชัญญะพร้อม ไม่สะสมความเครียดใดๆ </p>

.

<p “=”“>เศรษฐกิจพอธรรมนี้จะพยุงโลกไว้ได้ ไม่ว่าในระดับ SME หรือ L ก็ตาม หาไม่แล้วจะนำไปสู่จุดหมายที่เราเรียกว่า Gross Doomistic Product (oo ไม่ได้สะกดผิด) </p>

---คนถางทาง..สค..๒๕๕๙

หมายเลขบันทึก: 611617เขียนเมื่อ 1 สิงหาคม 2016 06:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 สิงหาคม 2016 06:54 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท