เรื่องธนาคารสหกรณ์ ........อีกครั้ง (เขียนเมื่อ 12 พฤษภาคม 2559)


เรื่อง ธนาคารสหกรณ์ อีกครั้ง ...... (เขียนเมื่อ 12 พฤษภาคม 2559)

มี 3 ทางเลือก ทางเลือกที่ 1 เป็นทางเลือกที่ดีที่สุดยากที่สุดแต่น่าจะทำได้เพื่ออนาคตของลูกหลานไทย

ทางเลือกที่ 1. Co-operative Bank เป็นธนาคารสหกรณ์อย่างแท้จริง ขบวนการสหกรณ์เป็นเจ้าของ ดำเนินการแบบสหกรณ์ เหมือน Cooperative Bank ในอินเดีย ต้องพัฒนาปรับปรุงพระราชบัญญัติสถาบันการเงินใหม่ และพัฒนาพระราชบัญญัติสหกรณ์ หรือตั้่งเป็นธนาคารเฉพาะกิจการสหกรณ์โดยเฉพาะ
น่าจะทำได้เพื่อคืนความสุขให้คนในชาติ เนื่องเพราะ ธนาคารสหกรณ์ (cooperative Bank) จะต้องมีใน Thailand 4.0 https://www.gotoknow.org/posts/606248

ทางเลือกที่ 2. Commercial Bank for Cooperative ธนาคารพาณิชย์เพื่อกิจการสหกรณ์ ตั้งเป็นธนาคารพาณิชย์ทั่วไป ไม่ต้องแก้ไข พระราชบัญญัติสถาบันการเงิน ให้สหกรณ์ถือหุ้น ในธนาคารพาณิชย์ที่ตั้งขึ้น ทั้ง 100 % แบบ การตั้งบริษัทสหประกันชีวิต เพราะ พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 หมวด 1 บริษัท .........มาตรา 8 การประกอบธุรกิจประกันชีวิตจะกระทำได้เมื่อได้จัดตั้งขึ้นในรูปบริษัทจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือบริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/600432

ทางเลือกที่ 3. Bank for cooperative คือการตั้ง ธนาคารเพื่อการสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) ขึ้นมาใหม่ แบบในปี พ.ศ. 2490 ซึ่งกลายมาเป็น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในปี พ.ศ. 2509 https://www.gotoknow.org/posts/559936

พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551

มาตรา ๙ การประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจเงินทุน หรือธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์จะกระทำได้เฉพาะนิติบุคคลประเภทบริษัทมหาชนจำกัด โดยได้รับใบอนุญาตจากรัฐมนตรีโดยคำแนะนำของธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ในการอนุญาตดังกล่าวรัฐมนตรีจะกำหนดหลักเกณฑ์ตามที่เห็นสมควรก็ได้

การยื่นคำขอจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดเพื่อประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับความเห็นชอบในการจัดตั้งจากรัฐมนตรีก่อน

เมื่อได้จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจำกัดแล้ว ให้บริษัทมหาชนจำกัดนั้นยื่นคำขอรับใบอนุญาตตามแบบที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนดต่อรัฐมนตรีโดยผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย

การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ตลอดจนเสียค่าธรรมเนียมตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของธนาคารแห่งประเทศไทย

ที่มา : http://law.longdo.com/law/343/


Differences between Co-operative Banks and Commercial Banks in India


We may distinguish between co-operative banks and commercial banks on the following counts:

1. Commercial banks are joint-stock banks. Co-operatives banks, on the other hand, are co-operative organisations.

2. Commercial banks are governed by the Banking Regulation Act. Co-operative banks are governed by the Co-operative Societies Act of 1904.

3. Commercial banks are subject to the control of the Reserve Bank of India directly.

Co-operative banks are subject to the rules laid down by the Registrar of Co-operative Societies.

4. Co-operative banks have lesser scope in offering a variety of banking services than commercial banks.

5. Commercial banks in India are on a larger scale. They have adopted the system of branch banking, so they have countrywide operations.

Co-operative banks are relatively on a much smaller scale. Many co-operative banks follow only unit-bank system, though there are co­operative banks with a number of branches but their coverage is not countrywide.

6. Commercial banks in India are of two types: (i) public sector banks and (ii) private sector banks.

Co-operative banks are private sector banks.

7. Commercial banks mostly provide short-term finance to industry, trade and commerce, including priority sectors like exports, etc.

Co-operative banks usually cater to the credit needs of agriculturists.

8. Co-operative banks offer a slightly higher rate of interest to their depositors than commercial banks.

9. In co-operative banks, borrowers are member shareholders, so they have some influence on the lending policy of the banks, on account of their voting power.

Borrowers of commercial banks are only account- holders and have no voting power as such, so they cannot have any influence on the lending policy of these banks.

10. Co-operative banks have not much scope of flexibility on account of the rigidities of the bye-laws of the Co-operative Societies. Commercial banks, on the other hand, are free from such rigidities.

ที่มา : http://www.yourarticlelibrary.com/banking/differences-between-co-operative-banks-and-commercial-banks-in-india/26345/


Peeraphong Varasen
12 May 2016

คำสำคัญ (Tags): #ธนาคารสหกรณ์
หมายเลขบันทึก: 606320เขียนเมื่อ 12 พฤษภาคม 2016 20:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 พฤษภาคม 2016 20:48 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท