เส้นรอบพุงเพิ่ม 5 ซม. จะเกิดโรคเบาหวาน 5 เท่า ถ้าเส้นรอบพุงเพิ่ม 1 ซม.จะเกิดโรคเบาหวาน 1.38 เท่า ของความเสี่ยงเดิม


เส้นรอบพุงเพิ่ม 5 ซม. จะเกิดโรคเบาหวาน 5 เท่า ถ้าเส้นรอบพุงเพิ่ม 1 ซม.จะเกิดโรคเบาหวาน ? เท่า (ไม่ใช่ 5 หารด้วย 5 ถ้า Logistic Regression)


ที่มา: พิชิตอ้วนพิชิตพุง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, สสส
http://resource.thaihealth.or.th/library/hot/12795

ถ้าการวิจัยใช้วิธี Logistic Regression

เส้นรอบพุงเพิ่ม 5 ซม. จะเกิดโรคเบาหวาน 5 เท่า

ถ้าเส้นรอบพุงเพิ่ม 1 ซม.จะเกิดโรคเบาหวาน ? เท่า (ไม่ใช่ 5 หารด้วย 5)

แต่เป็น Odds Ratio = e β1 เท่า (โดยที่ β1 = ln(5) หารด้วย 5)

Logistic Regression คือ จะป่วยเป็น Odds Ratio เท่า ของการป่วยเดิม ถ้าเส้นรอบพุงเพิ่ม 1 หน่วย

ตัวแปรตาม Dichotomous Outcomes คือการป่วยโรคเบาหวาน (ป่วย=1, ไม่ป่วย=0)

e 5 * β1 = 5

5 * β 1 = ln(5)

β 1 = [ ln(5) ] / 5

β 1 = 1.609437 / 5 = 0.321887

Odds Ratio = eβ1 = 1.38 ถ้าตัวแปรต้นเพิ่ม 1 ซม.

ถ้าตัวแปรต้น เพิ่มเป็น 5 ซม.

Odds Ratio = e (5* 0.321887) = 5

เส้นรอบพุงถ้าเพิ่มขึ้นจากเดิม จะเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน เป็น e i * β1 เท่าของความเสี่ยงเดิม (i คือเส้นรอบพุง เพิ่มจากเดิม = 0, 1, 2, 3, 4, 5 ซม.)

0 ซม. e 0 = 1 (คือเท่ากันกับความเสี่ยงเดิม)
1 ซม. e (1*0.321887) = 1.3797 เท่า
2 ซม. e (2*0.321887) = 1.9036 เท่า
3 ซม. e (3*0.321887) = 2.6265 เท่า
4 ซม. e (4*0.321887) = 3.6238 เท่า
5 ซม. e (5*0.321887) = 4.9999 เท่า




ในทางกลับกัน ถ้าคำนวณค่า Odds Ratio
จากการเพิ่มของตัวแปรต้น 1 หน่วย
และต้องการจะ เปรียบเทียบ Odds Ratio
โดยการเพิ่มตัวแปรต้น 5 หน่วย
จะนำ 5 คูณกับส่วนที่ยกกำลัง ของ e

คือ e 5 * β1

เช่น ข้อมูล Low Birth Weight
ถ้าน้ำหนัก 1 ปอนด์ น้อยไป ไม่รู้สึกว่าน้ำหนักเปลี่ยนแปลง
ท่านอาจ "rescale the odds ratio" เปรียบเทียบกับการเพิ่มน้ำหนักเป็น 5 เท่า

ถ้าต้องการ ค่า Odds Ratio โดย เปรียบเทียบน้ำหนักของหญิงตั้งครรภ์ เป็น 5 เท่า ของน้ำหนักเพิ่ม 1 หน่วย
เช่น ใช้น้ำหนัก 5 ปอนด์ แทนน้ำหนัก 1 ปอนด์

Source: https://www.youtube.com/watch?v=_Po-xZJflPM

น้ำหนักหญิงตั้งครรภ์
น้ำหนักเพิ่ม 1 ปอนด์ Odds Ratio = 0.98
น้ำหนักเพิ่ม 5 ปอนด์ Odds Ratio = 0.93


Source: https://www.youtube.com/watch?v=_Po-xZJflPM
Odds Ratio ได้มาจาก Odds_1/Odds_0 โดยที่ตัวแปรต้นเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
Odds Ratio = e β1
Scatter Plot ln(Odds) และตัวแปรต้น เป็นเส้นตรง Slope คือ β 1


อ่านเพิ่มเติมที่
https://dl.dropboxusercontent.com/u/1999671/EPI_56/sim_log/intro3.htm

Dropbox not render html page !! Oct 2016
http://epistat.usite.pro/sim_log/intro3.htm


Ho: β 1 = 0 (ถ้า β1 = 0, Odds Ratio = 1)
Ha: β 1 <> 0 (ตัวแปรต้น Predict ตัวแปรตามได้)

https://dl.dropboxusercontent.com/u/1999671/EPI_56/bin_log/index.htm

Dropbox not render html page!! Oct 2016
http://epistat.usite.pro/bin_log/index.htm


หมายเลขบันทึก: 590061เขียนเมื่อ 10 พฤษภาคม 2015 20:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2017 06:24 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

That is why we need doctors -- to work out all the hidden factors of our health ;-)

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท