เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จีน-ไทย


แลกเปลี่ยนเรื่องเทคโนโลยีการศึกษา ระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีน ว่ามีความเหมือนความต่างกันอย่างไร นอกจากความต่างเรื่องภาษาที่แตกต่างกัน

           ในบ่ายวันเดียวกัน(6 พ.ย. 49)กับที่ Prof. J. Lin Compton มาพูดถึงเรื่อง การวิจัยวิทยาศาสตร์เชิงชาติพันธ์ นิสิตปริญญาเอกเทคโนโลยีการศึกษาก็ต้องแบ่งร่าง มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ Prof.Dr.Xu Ghuange Ze จาก Yunan Normal University ที่เดินทางมาเยี่ยมพวกเราชาวเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยนเรศวร

              ผมได้พบกับ อาจารย์ฉี เมื่อครั้งที่เราไปเยี่ยม มหาวิทยาลัยยูนาน ที่คุณหมิง อาจารย์เป็นศาสตราจารย์ทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา

           มาครั้งนี้อาจารย์ได้มาเล่าแลกเปลี่ยนเรื่องเทคโนโลยีการศึกษา ระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีน ว่ามีความเหมือนความต่างกันอย่างไร นอกจากความต่างเรื่องภาษาที่แตกต่างกันแล้ว

ประเด็นความแตกต่าง

จีน

ไทย

ภาษา จีนกลาง,อังกฤษ ไทย,อังกฤษ
เมือง คุณหมิง ประเทศไทย
ความแตกต่างเรื่องเชื้อชาติ 58 เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ประมาณ 10 เผ่าพันธ์
การศึกษาทางไกล ดาวเทียม,อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต,ดาวเทียม
ประชากร 90 ล้าน 60 ล้าน
เครื่องแบบนักศึกษา ไม่มีเครื่องแบบ มีเครื่องแบบ
เทคโนฯ ในยูนาน ศูนย์เว็บ ศูนย์เทคโนฯ ศูนย์คอม มอนอมีศูนย์เดียวอยู่รวมๆ กัน
นักศึกษาปริญญาโทเทคโนฯ ทั้งหมดเป็นครู มาหลากหลาย ธุรกิจ พยาบาล ทหาร ตำรวจ ครู
ความเร็วอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย 1 GByte/sec 32 MByte/sec


   <table border="1" cellspacing="3" cellpadding="3" width="90%" align="left"><tbody>

 Prof.Ze

 ผศ.ดร.สุภาณี เส็งศรี  นิสิตปริญญาเอกเทคโนโลยีการศึกษา

Profressor Ze 

 ผศ.ดร.สุภาณี เส็งศรี หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา อ.สมุทร อาจารย์ภาควิชาเทคโนฯ ม.ราชภัฎอุตรดิตถ์

 ผอ.อนงค์ ผู้อำนวยการโรงเรียน นครสวรรค์ และอ.อัจฉรา อาจารย์สอนภาษาอังกฤษจากโรงเรียนเชียงใหม่

</tbody></table>
  
  
   <p>                 </p><p> </p><p> </p><p> </p><p> </p><p> </p><p> </p><p>               อ.ฉี พูดถึงอุปสรรคของคนไทยในการเรียนภาษาจีน ว่า
 ส่วนใหญ่คนทั่วไปเมื่อไปศึกษาภาษาจีน มักคิดว่าการศึกษาภาษาจีนอาจใช้ 4 ทักษะในการเรียนรู้ คือ อ่าน เขียน ฟัง พูด</p><p>
                แต่จริงๆแล้วภาษาจีนต้องศึกษา คำ การออกเสียง โทนเสียง คำศัพท์ และไวยากร ภาษาจีนนั้น การฟังใช้เวลาในการเข้าใจได้ไม่ยาก การพูด จะยากรองลงมา แต่การอ่านและทำความเข้าใจนั้น ภาษาจีน คำแต่ละคำนั้น แตกต่างกัน ออกเสียงแตกต่างกัน ก็มีความหมายต่างกัน หากเราไม่เข้าใจวัฒนธรรมและความเป็นมาของคำ 
 
                ดังนั้นประเทศจีนต้องการการวิจัย พัฒนาซอฟต์แวร์ที่จะช่วยในการศึกษาภาษาจีนสำหรับคนไทย ในด้านของ การออกแบบซอฟต์แวร์ การออกแบบการสอน การพัฒนาสื่อที่ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล
</p>

หมายเลขบันทึก: 57421เขียนเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2006 15:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:36 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
แวะมาฝากรอยค่ะอาจารย์ และด้วยความสงสัยว่า...บ่ายวันเดียวกันนี่...บ่ายวันไหนหรอคะ ^___*
  • ขอบคุณมากครับที่บ่นถึง
  • เพื่อนชาวจีนที่มาเรียนปริญญาเอกด้วยกันเพิ่งกลับไปกุ้ยโจ
  • ผมอยากเรียนทั้งภาษาจีนและเทคโนโลยีเลยครับ
  • มีพี่ชื่อ ดร. สุดทรวง ยุทธนา เพิ่งจบจากที่นี่ไปที่ มน. นะครับ ฝากความคิดถึงด้วย จะเอารูป พี่เขาให้ดูวันหลังนะครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท