World Diabetes Congress 2013 : เข้าใจอดีต


All eukaryotic cells คุยกันตลอดเวลา แต่ละเซลล์มีการช่วยเหลือกัน เพื่อการอยู่รอดและทำในสิ่งที่ถูกต้อง

วันที่ 3 ธันวาคม 2556

ช่วงเช้าระหว่างเวลา 08.30-09.30 น. ดิฉันเข้าฟัง IDF Award Lecture เรื่อง The mode of action of insulin: the tenth day of creation โดย Prof. Jesse Roth (USA) ที่ห้อง Plenary 2 ก่อนการบรรยาย P.Lefebvre ผู้ทำหน้าที่ Chair กล่าวว่าเราต้องเข้าใจอดีตเพื่อวางแผนอนาคต Prof.Roth เป็น diabetes researcher ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ได้เล่าถึงการศึกษาเรื่อง cell surface receptors ของอินซูลินและฮอร์โมนอื่นๆ ว่ามีใครเกี่ยวข้องบ้าง แต่ละคนทำอะไร ในปีใด ลำดับเรื่องราวในประวัติศาสตร์ให้เห็นว่าในแต่ละช่วงเวลานั้นเขาทำอะไรกันบ้าง ได้รู้ในเรื่องใด

 

Prof. Jesse Roth

 

ผู้ที่ค้นพบอินซูลินมีหลายคนคือ Banting, Best, Collip และ Macleod และยังกล่าวถึง Gerty Cori, Cari Cori, Rachmiel Levine (stimulate glucose transport), William Stadie (fat metabolism), Earl Sutherland มีการค้นพบว่าสารที่หลั่งจากตับอ่อนควบคุม BG ได้ ปี 1921 ค้นพบอินซูลินและใช้ในการรักษาผู้ป่วย Macleod รู้ว่ามีผลต่อ BG แต่ไม่รู้กลไก Cori & Cori ทำงานเกี่ยวกับ glycogen

Four revolutions that were born in Endocrinology and then spread to all of Biology and Medicine

1. 1960 = Radioimmunoassay

ผู้เกี่ยวข้อง Resalyn Yalow, Solomon Berson คำถาม How much insulin is there in the blood?

ในปี 1961-1963 การทำงานของ Berson & Yalow (and S.M.Glick) on radioimmunoassay for growth hormone ในขณะนั้นเชื่อว่า growth hormone มีบทบาทสำคัญในเบาหวานและโรคแทรกซ้อนของเบาหวาน ทำให้รู้จัก dynamic blood test สำหรับ acromegaly และ growth hormone deficiency ซึ่งยังคงใช้เป็นมาตรฐานจนทุกวันนี้

สิ่งที่ gained ใน 2 ปีคือ Encyclopedic knowledge และเรียนรู้ power of quantitative study

2. 1958-1962 =Adenylate cyclase and cAMP (Earl Sutherland)

คำถาม : How do epinephrine and glucagon promote breakdown of glycogen

3. 1960s = Real birth of receptors Elwood Jensen (1920-2012)

คำถาม : What happens to estrogen in the uterus? ค้นพบ nuclear receptors

คำถาม : How does the cell know that insulin is there?

4. “Breaking Out”

........................

History talk 1855 Claude Bernard (1813-1873)

The Endocrinology Society 1955 Albert Einstein launches first class Intercellular Communication

การบรรยายในหัวข้อนี้ทำให้ได้รู้ว่าร่างกายของคนเรามีเซลล์ 100 million million cells ทุกเซลล์ (every one of cells) มีการหลั่งสาร intercellular (hormone-likes) communication molecules เข้าสู่ extracellular medium อย่างต่อเนื่อง ทุกเซลล์มี receptors และเป็น target ของ multiple intercellular communication molecules (เซลล์มีการสื่อสารระหว่างกัน)

ความรู้เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ทำให้เกิด great paradigm shifts... อย่างหนึ่งก็คือในโรคติดเชื้อ (infectious disease, sepsis) พบว่า microbes ไม่ใช่ killers แต่เกี่ยวข้องกับการปล่อยสาร cytokines, hormone-like, การขาด receptor บางตัว ฯลฯ

เรื่องของ receptors อยู่ใน hibernation จนกระทั่งปี 1970 จึงมีการกล่าวถึงในตำราทางการแพทย์ ตำราทางเภสัชวิทยา ผลงานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์ การประชุมทางวิชาการ

All eukaryotic cells คุยกันตลอดเวลา แต่ละเซลล์มีการช่วยเหลือกัน เพื่อการอยู่รอดและทำในสิ่งที่ถูกต้อง

การเกิดขึ้นของ Endocrinology มีรากฐานเพื่อการจำแนกและบรรเทาโรคของมนุษย์ เมื่อ scientific ideas ได้แพร่กระจายไปยัง all of biology ก็ได้หนุนให้เกิด strategies ในการจัดการกับโรคทุกโรคของมนุษย์

 

บรรยากาศนอกห้องประชุม หลังการบรรยายช่วงแรก

 

รูปแบบนิทรรศการที่น่าสนใจ

 

ด้านนอกศูนย์ประชุม ท้องฟ้ามีเมฆมาก

 

ช่วงสายๆ ไปฟังเรื่อง Registries for diabetes ที่ห้อง Melbourne 2 โดย N.Tajima (Japan) ได้รู้เรื่องของบทบาทของ registries ในงานวิจัยและการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน

พูดถึง WHO Diamond project เกณฑ์การ entry, incidence rate by region

ช่วง 12.40-14.30 น. ต้องไปประจำอยู่ที่โปสเตอร์

หลังจากนั้นไปฟัง Symposium ในห้อง 203/204 ในหัวข้อหลักเรื่อง Approaches for diabetes prevention 

วัลลา ตันตโยทัย

บันทึกเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2557

หมายเลขบันทึก: 560146เขียนเมื่อ 26 มกราคม 2014 11:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 มกราคม 2014 11:08 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท