สาขาบทที่ 4.2 เรื่อง เพลงที่มีอิทธิพลต่อร่างกายและเชาวน์สุขภาพของปัจจัยทางจิตวิทยาและสังคม Music influences the physical and psychological factors, and social health quotient


ขณะที่กระผมกำลังเรียน ป.โทที่มหาวิทยาลัยเกษมบันฑิต และในขณะที่ท่านอาจารย์ศาสตราจายร์จรรยา สุวรรณทัต สอนพวกนักศึกษาปริญญาเอกเรื่องที่เกี่ยวกับเชาวน์สุขภาพของปัจจัยทางจิตวิทยาทำนองดังกล่าวนี้ กระผมได้แอบดูและศึกษานั่งอยู่นอกห้องโดบมองผ่านกระจกประตูเข้าไปที่จอภาพเพื่อใช้ในการประกอบคำแธิบายแล้วกระผมนำดนตรีเข้าผสมทำเช่นนั้นอยู่เกือบเดือน มีความสำนึกว่าผิดที่ไม่ได้บอกกล่าวเพื่งจะมาคิดได้ก็ทำไปนานแล้ว กระผมยอมรับผิดเพราะแค่อยากรู้เพียงกรณีเดียวจึงขอให้ท่านอาจารย์ศาสตราจายร์จรรยา สุวรรณทัต อภัยให้ด้วย.. 

                                                                                           

                                                                                                นายณัฐนพ มนู อินทาภิรัต

                                                                                                   ผู้กระทำความผิด

 

มุมมองในปัจจุบันเกี่ยวกับศักยภาพรูปแบบแนวเพลงที่มีผลต่อสุขภาพ Current views about the potential form genre that offect health

การเจ็บป่วย ในรูปแบบของการแพทย์นั้น ย่อมเกี่ยวกับสุขภาพและการเจ็บป่วยในรูปลัษณะที่แตกต่างกัน หมายความว่า เพลงที่ไม่ชอบเมื่อนำเข้าทำการบำบัดย่อมเกิดโทษและทำให้เจ็บป่วยได้ แต่นั้นเป็นการรักษาดูแลแบบในวงกว้าง สุขภาพและการเจ็บป่วยที่มาเกี่ยวกับเรื่องนี้ มุมมองใหม่เรียกว่าชีวภาพของปัจจัยทางสังคมจิตวิทยา Biological and psychological factors เพิ่มความเป็นจริงทางชีวภาพ ของปัจจัยทางสังคมจิตวิทยา

 

มุมมองของชีวภาพของปัจจัยทางสังคมจิตวิทยา Biological and psychological factors

เราสามารถมองเห็นองค์ประกอบในเรื่องราวที่น่ายินดีต่อแฟนเพลงที่ให้การต้อนรับ “ขุนอิน”ไว้เป็นตัวอย่างต่อการศึกษา ถือเป็นจุดเริ่มต้นของบทศึกษานี้ ผู้มีฝีมือลักษณะนี้ ในรูปแบบแนวเพลงอย่างมีส่วนร่วมทางชีวภาพ  ขุนอิน ได้รับมรดกจากบิดาของเขาจนกระทั่งเข้าสู่ระดับมีฝีมือทางระนาดเอก และได้ถูกยกขึ้นเป็นปัจจัยทางจิตวิทยา ขุนอิน อาจเป็นสิ่งสำคัญต่อการแสดง แต่อาจเบื่อจากแสดงมาหลายรายการ งานมาก จนได้รับการฝึกซ้อมน้อยอย่างน่าเป็นห่วง ถึงแม้ว่าเรื่องของขุนอินไม่เป็นความจริง แต่สังคมย่อมมีบทบาทนำปัญหาทางสังคมการบันเทิงมาให้ ความประพฤติของขุนอินที่ดีก็มีเช่น เขาได้เลียนแบบบิดาของเขา เห็นพฤติกรรมตัวอย่างจากบิดาต่อการฝึกฝีมือและการออกกำลังกายหลังจากการได้ฝึกซ้อมแล้ว ขุนอินได้เห็นบิดาดูแลสุขภาพให้้ในฐานะบิดามีต่อบุตรที่บิดาซึ่งเป็นผู้สอนเขาย่อมแสดงความรัก – ห่วงกังวล และกระตุ้นขุนอินเพื่อเข้าร่วมโปรแกรมนันทนาการ โดยยกตัวอย่างให้ดูที่องค์ประกอบของรูปแบบทางชีวภาพของปัจจัยแห่งสังคมจิตวิทยา Biological and psychological factors พร้อมอธิบายเพิ่มเติม

 

 

บทบาทของเสียงเพลงที่ให้ปัจจัยทางชีวภาพ The role of music and biological factors

สิ่งที่รวมศิลปะเสียงเพลงของดนตรีอยู่ในปัจจัยทางชีวภาพโดยรวมนี้ ขุนอินได้สืบเชื้อสายทางพันธุกรรมจากบิดาเรื่องกระบวนการดนตรี ขุนอินยังมีศิลปะเอกลักษณะด้านบุคคล ที่ทำงานทางด้านจิตใจ ตัวอย่างเช่นว่า

 

1. ร่างกายมีหน่วยก้านของโครงสร้างเฉพาะเช่น ดำเนินงานในรูปแบบที่ขุนอินถนัด Style

2. ตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพในการถนัดจนเกิดรูปแบบแนวเสียงเพลงด้วยตนเอง เช่นกลเม็ดเด็ดพราย Technique

 

3.บางครั้งมากเกินกลเม็ดเด็ดพราย ในบางครั้งถ้าใส่ลูกเล่นมากไป ย่อมทำให้เสียงบทเพลงมากเกินการตอบสนอง การเล่นบรรเลงก็ดีควรใช้สมการเพลงบทและสมดุลย์ประโยค เพื่อให้เกิดความถูกต้องเหมาะสมดีงาม

 

4.ร่างกายถูกสร้างขึ้นจากระบบทางกายภาพที่ซับซ้อน อย่างเช่นกระดูกอวัยวะและเส้นประสาทที่รับไว สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ ซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของเซลล์ และอะตอมที่ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และสุขภาพที่มีประสิทธิวัยภาพของระบบเหล่านี้ ขึ้นอยู่กับวิธีการใช้งานส่วนประกอบ การดำเนินงานและ โต้ตอบกันอย่างสมดุลย์

 

บทบาทของเพลงทางจิตวิทยา The psychology of music

 

เมื่อเราพูดถึงบทบาทของการบรรเลงเล่น ดำเนินชีวิตกับบุคลิกภาพทางศิลป์ เราได้รู้ถึงกระบวนการและพฤติกรรมทางจิต จับได้จากการมีสติตามรู้ ดังได้กล่าวมา พฤติกรรมปัจจัยจิตวิทยา Psychological และกระบวนการทางจิตที่มีความสำคัญต่อจิตวิทยา ด้วยแรงจูงใจทางศิลปดนตรีได้เกี่ยวข้องกับอารมณ์ความรู้

 

ความรู้ของกิจกรรมทางจิตที่ครอบคลุมการเรียนรู้ต่อการรับรู้ จดจำความคิด ความเชื่อ การตีความและการแก้ปัญหาวิธีด้วยศิลปทางปัญญา การกระทำเหล่านี้ จะเกิดปัจจัยทางความคิดส่งผลต่อสุขภาพและการเจ็บป่วยด้านอารมณ์ เช่นสมมติว่า ขุนอิน ศิลปินดนตรีผู้นี้มีชีวิตดีเป็นที่ยิ่ง เชื่อได้ว่าไม่ได้อาศัยอยู่กับสิ่งที่ไม่คุ้มค่าหมายความว่ามีฐานะดี และยังหลงในสิ่งเพลิดเพลินอยู่ ถ้ายังสนุกอยู่กับเสียงเพลงที่ไม่ชอบ จะต้องไปลดความเสี่ยงจากโรคประสาทไม่ได้ หรือไม่ก็เป็นโรคหัวใจ  ในความคิดของขุนอิน หรือสมมติว่าเครียดต่การเล่นดนตรีต้องระบาย เกิดมีอาการปวดกระเพาะอาหาร คล้ายกันในอดีตที่หายไปในสองสามวัน ที่ขุนอินแสวงหาการรักษาอีกครั้ง อาจ แต่การรักษามิใช่ละทิ้งเสียงเพลงที่ทำให้เครียดนั้นได้วิธีเดียว การรู้จักวิธีการรักษานั้นมีมากมายด้วยบทบาทต่อการดูแลสุขภาพ และการเจ็บป่วยมาจากทางอารมณ์ย่อมบำบัดรักษาได้

 

อารมณ์เป็นอัตนัย Emotions are subjective

 

สามารถขจัดผลถูกกระทบจากพฤติกรรมทางความคิดของบุคคลได้ สรีระ Psysiology กับอารมณ์บางอย่างยอมให้ผลบวก เช่นความสุข ความรัก และอื่นๆที่เป็นเชิงลบ เช่น ความกลัว ความโกรธ ความทุกข์ และความโศกเศร้า อารมณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจ็บป่วยนั้นมีได้ในหลายๆกรณี สำหรับคนที่มีท่าทางในศิลปอารมณ์ความรู้สึกเป็นบวก ผู้นั้นค่อนข้างจะมีโรคน้อยและมีแนวโน้มที่จะดูแลสุขภาพของตนเองเป็นอย่างดี และปรับตัวกู้คืนจากการเจ็บป่วยได้อย่างรวดเร็วกว่าคนที่มีอารมณ์เป็นเชิงค่อนข้างลบติดค่อนข้างดื้อ ถือได้เป็นสิ่งเรื้อรัง เมื่อกล่าวถึงบทบาทของรายส่วนบุคคลที่อยู่ในอารมณ์ความรู้สึกเจ็บป่วยประเภทนี้  ยังทำความวิตกให้กับแพทย์ด้วย

 

แรงจูงใจ Motivation

 

เป็นคำที่นำใช้ร่วมกับคำอธิบายของเหตุผล ต่อการกระทำของบุคคล ทำไมขุนอินถึงเริ่มต้นกิจกรรมดนตรีโดยตรง แต่บางคนก็เลือกการออกกำลังกาย โดยเริ่มต้นเลือกเป้าหมายที่จะทำกับสิ่งสำคัญๆในชีวิตของ ขุนอินกับบุคคลผู้นั้น  นักดนตรีที่เลิกดื่มเหล้า เลิกสูบบุหรี่ก็เพราะเด็กน้อยน่ารักโดยการเสียสละได้เพราะเด็กเล็กๆไม่ชอบกลิ่น กับสมาชิกครอบครัว เพื่อนบ้าน ควรป้องกันสุขภาพของพวกที่อยู่ใกล้เคียงโดยรวมนั้น เพื่อตัวเราเอง

 

 บทบาทเพลงที่มีปัจจัยต่อสังคม Role that social factors

 

คน อาศัยเสียงเพลงอยู่ในโลกสังคมที่เรามีสื่อสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิดผู้นั้น อาจเป็นเพื่อนหรือสมาชิกในครอบครัว หรือกลุ่มในขณะที่เราไปมาหาสู่กับคนที่เราส่งผลกระทบต่อเขาและพวกเขาก็มีผลต่อเรา โลกของสังคมดนตรีมีขนาดใหญ่กว่าคนที่เรารู้จัก หรือเกินขอบเขตต่อการตอบสนองความต้องการ และมีระดับของทรงกลมทางบริบทสังคมเช่น ครอบครัวชุมชนสถานที่ทำงาน และ มีผลกระทบต่อคนอื่น ๆอีกด้วย

 

ระดับที่ค่อนข้างกว้างในสังคมของเรา ย่อมมีผลต่อสุขภาพของบุคคล โดยการส่งเสริมค่าศิลปดนตรีทางวัฒนธรรมของเราให้เป็นหนึ่งในค่าเหล่านั้น เป็นสิ่งที่ถูกต้องพอดี เพื่อบำรุงให้มีสุขภาพดีและมักจะเป็นมวลหนังสือพิมพ์กับสื่อสิ่งอื่น ๆ สะท้อนให้เห็นถึงค่าดนตรีวัฒนธรมมไทยเหล่านี้ด้วย โดยการตั้งค่าตัวอย่างที่ดี และกระตุ้นให้เรามีเป้าหมายต่อการดำรงชีวิต ติดไว้กับไทยวัฒนธรรม จะไม่ใช้วัฒนธรมมดนตรีประเภทที่ไมดีจากตะวันตก ไม่ดื่มยาที่บังคับร่างกายให้ไม่ยอมพัก สื่อมวลชนสามารถทำได้มาก เพื่อการส่งเสริมสุขภาพของนักศิลปินดนตรี แต่บางครั้งสื่อเหล่านี้ส่งเสริมพฤติกรรมบังคับให้ใช้ร่างกายแบบ Non – stop เพื่อยกเลิกให้ศิลปินดนตรีมีสุขภาพดี เช่นเมื่อเราสังเกตนักดนตรีที่มีชื่อเสียง เล่นบทในภาพยนต์ออกแสดงโทรทัศน์ในบทที่ใช้อารมณืเกินขอบเขต นั่นเป็นบุคคลที่สามารถส่งผลกระทบต่อสังคมของค่าใช่ (Yes) เป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่เราสามารถส่งผลกระทบต่อมูลค่าทางวัฒนธรรมดนตรีไทยโดยตรง สมควรที่จะเขียนความคิดเห็นของเราไปยังสื่อมวลชน เลือกรายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ให้ชมและสังคมควรเลือกซื้อโสตทัศนวัสดุที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพจิต – อารมณ์สำหรับตน

 

ชุมชนของเราประกอบด้วยบุคคลหลายอาชีพ ที่อาศัยอยู่ค่อนข้างใกล้กันนั้น มีอีกกลุ่มหนึ่ง เช่นในจังหวัดเดียวกันหรือแขวงเขตที่คนเหล่านั้นมีอิทธิพลและได้รับอิทธิพลจากสื่อพลงที่ไม่ดี และความเป็นอยู่ในสังคมแทรกซ้อนหลายๆด้านที่มีอิทธิพลนี้ สามารถมองเห็นจากการวิจัย พบว่าในชุมชนยังแตกต่างกันเป็นเขตระหว่างเขต ที่สมาชิกแต่ละชุมชนปฏิบัติสุขภาพทางอารมณ์บางอย่าง ของอนาเขตของพวกเขา อาจมีบางเขตนำพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการฟังเพลงหรือนำไปเต้นรำเพื่อลดอาหารไขมันและเพิ่มความหรรษาไปในตัว ความแตกต่างเหล่านี้ อาจแตกต่างในบางกลุ่มของวัยรุ่น เช่นมักจะเริ่มต้นสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร้องคาราโอเกะเพลงสองแง่สองง่าม เรียนแบบผู้ใหญ่บางคน อาจเป็นผลมาจากแรงกดดันจากเพื่อนบ้าง เพื่อนบ้านบ้าง บางครั้ง เพียงแค่สังเกตุครอบครัวต่ที่มีลูกวัยรุ่นพัวพันในสิ่งอบายเหล่านี้ สามารถส่งเสริมให้มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่พัวพันกับเครื่องดื่มที่มีดีกรี เป็นระยะวัยที่ยังไม่สมควรจนเป็นที่นิยมและดู เย็นขรึม cool หรือยาก Tough ในชุมชนตัวอย่างไม่ดีเหล่านี้ เป็นการสร้างแรงบันดาลใจที่ไม่ดีมาเกี่ยวข้องและหรือเพื่อมุ่งให้ชัดเจนขึ้นเป็นองค์ประกอบอย่างมีภัยภาพต่อธรรมชาติสังคม (คิดอย่างนี้..ไม่สมควร..)

 

ความสัมพันธ์ทางสังคมดนตรีที่ใกล้เคียงและต่อเนื่องมากที่สุดสำหรับคนส่วนใหญ่อล้ว ย่อมเกิดขึ้นภายในครอบครัว ซึ่งอาจรวมถึงญาติหรือไม่ก็คนที่อาศัยอยู่ร่วมกัน สามารถแบ่งปันความรู้ความผูกพันทางอารมณ์ศิลปดนตรีได้ ย่อมมีปัญหากันบ้างทางด้านความชอบเฉพาะตน เด็กที่เจริญเติบโตและพัฒนาจากครอบครัวดนตรี หรือครอบครัวที่ส่งเสริมการดนตรี ย่อมมีอิทธิพลอย่างเฉพาะด้าน ก่อนอื่นจงให้เด็กเรียนรู้เสียงเพลงด้านเสริมสุขภาพ อันเกี่ยวข้องกับทัศนคติพฤติกรรมและความเชื่อต่อสิ่งดีมีศิลปธรรม จากพ่อแม่พี่น้องและครูดนตรีเข้าสอนตามบ้าน สำหรับพ่อแม่ผู้ปกครองที่รักดนตรี สามารถตั้งทำตนเป็นตัวอย่างที่ดี เป็นหลักยืนของครอบครัวตามระดับฐานะแต่ละหน่วยไป และสำหรับพฤติกรรมสุขภาพด่านทางอารมณ์ ให้ใช้วิธีการสอนแบบซึมซับค่อยเป็นค่อยไปอยู่ในบรรยากาศเชิงหรรษา ให้พอดีกับสมาธิเด็กหรือของผู้เรียนมีต้นทุนการเรียนไว้ สำหรับวัยรุ่น หลังจากเรียนเล่นดนตรีแล้ว ควรออกกำลังกายในบ้านห็ได้ด้วยการซื้อ VCD เต้นเพื่อสุขภาพเป็นตัวอย่าง ไม่สูบบุหรี่เพื่อความเก๋ไก๋และเล่นเกมส์เพื่อการเอาชนะ ในครอบครัวยังสามารถส่งเสริมให้เด็กวัยรุ่นมีพฤติกรรมในการดำเนินการที่ดีต่อสุขภาพอารมณ์ ควรยกย่องและให้รางวัลเมื่อทำในสิ่งที่ดี สำหรับบุคคลที่สามารถมีอิทธิพลต่อหน่วยสังคมทางดนตรีที่เป็นสมาชิกครอบครัวแล้ว ควรทำตัวเป็นตัวอย่างที่ดี หมายถึงคุณมีชื่อเสียงโด่งดัง อาจตกขอบสังคม

 

บทบาทของปัจจัยจิตวิทยาและสังคมทางชีวภาพ ในสุขภาพอารมณ์จนถึงการเจ็บป่วย  เป็นวิธีการที่ได้รับผลกระทบทางด้านสุขภาพอารมณ์ด้วยการมีอิทธิพลสู่กันหทายถึงการจาม - ไอใส่กันโดยไม่ใช้เครื่องป้องกันสุขภาพในขณะที่เป็น องค์ประกอบเหล่านี้ ถ้าเป็นรูปแบบของศักยภาพต่างทัศนคติทางเสียงเพลงแล้วย่อมเข้ากันไม้ได้ ทางที่ดีแล้วควรที่จะมีทัศนคติเอนเอียงเข้าด้วยกันและมีข้อเสนอซึ่งกันและกันแบบองค์รวมในอารมณ์ร่วม

 

ถ้าคิดในแนวสรีระจักกล Know physiological mechanical สามารถคิดได้ทำได้ โดยใช้แนวคิดทางชีวภาพของเฟืองระบบการทำงาน แต่ละหน้าที่ในร่างกาย เป็นองค์กรแบบ Dynamic (พลังที่วัดผลได้) มีส่วนอันประกอบความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง และได้นิยามความหมายนี้ว่า ในร่างกายคน มีคุณสมบัติเป็นระบบทำงานร่วม เปรียบได้เฟืองกล Mechanical gears รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย Energy และระบบประสาทที่ประกอบด้วยเซลล์เนื้อเยื่อ Liquid เพื่อให้คนผู้นั้นอยู่ในชุมชนแวดล้อมด้วยสังคมอย่างมีศิลป์ เป็นระบบที่พวกคนกลุ่มนั้นเป็นองค์กรแบบ Dynamic คือมีการเปลี่ยนแปลงปรับตัวให้เหมาะสมต่อกันอยู่เสมอ สังคมของกลุ่มย่อมมีองค์ประกอบสัมพันธ์ Interrelate เช่นโดยการแลกเปลี่ยนสารศิลปพลังงานและเฟืองข้อมูลที่ได้รับมาแล้วส่งไป สมานไว้ด้วยเซลล์เนื้อเยื่อ

 

สถานที่หนึ่งมีระบบแนวคิดทางศิลปดนตรีขนาดเล็กที่เรียบง่าย อีกภายในหนึ่งนั้นก็มีระบบซับซ้อนมาก บางระบบ มีระดับของระบบภายในศิลปขั้นซับซ้อนขนาดใหญ่เมื่อขยายความ ดนตรีที่ใช้สังคมเพื่อการดำรงชีวิต ต้องการพัฒนาก้าวหน้าเพื่อการเป็นผู้นำ Leader ship เห็นว่ามีอยู่ระบบหนึ่ง เช่น บุคคลที่ได้รับผลกระทบเพราะการด้อยความสามารถ (นักดนตรี) ย่อมมีผลกระทบต่อระบบในระดับ ฝีมือ ขณะทำนองเดียวกัน หากหันมองระดับบุคคลดนตรีที่พัฒนาก้าวหน้ากว่าตน ย่อมเปรียบเห็นการเจ็บป่วยในส่วนหนึ่งของร่างกาย หรือในทีมของศิลปินผู้นั้น นั่นคือสังคมธุระกิจสายทางบันเทิงของวงศิลปินผู้นั้น ได้รับผลกระทบกว้างขึ้น อาจเป็นโรคขาดเงินถึงเจ็บป่วยอย่างจริงจังถ้าไม่ได้รับโอกาส ระบบภายในร่างกายจะระดมพลังการวัดผลในฝีมือโดยอัตโนมัติเพื่อการสัมฤทธ์ผล สร้างภูมิคุ้มกันต่ออาชีพ รายได้นั้นสามารถช่วยป้องกันสุขภาพร่างกาย และจากความเสียหายด้วยวิธีเพิ่มเติมพลังการป้องกันขึ้น ส่วนนอกเหนือจากความอึดอัดนั้น และความพิการ(ตกงาน)ที่อาจพบสำหรับวันต่อไปหรือสัปดาห์ต่อไป ย่อมมีผลต่อความสัมพันธ์ทางสังคม กับครอบครัวและสังคมชุมชน ดั่งเพลงโบราณกล่าวไว้ว่า “มีเงินทอง นับเป็นน้องเป็นพี่ ไปไหนมากมากมี มิตรไมตรีเหลือล้น”

 

แสดงให้เห็นถึงวิธีการใช้แนวคิดในระบบนี้ สามารถเป็นประโยชน์พร้อมที่จะใช้มันเพื่ออธิบายวิธีให้ “ขุนอิน” ว่ามีปัญหาต่อการดำรงในอาชีพของวิถีบันเทิงแล้ว สมมติว่า ขุนอิน ไม่สนใจที่จะฝึกฝีมือต่อไป ลักษณะอย่างนี้ อาจเกี่ยวข้องกับการตั้งค่าให้ความสบายแก่ตนเอง สมัย “ขุนอิน” เป็นเด็กวัยหัดเดิน บิดาของเขา กระวีกระวาทต่อเขา ด้วยการนำไม้ตีระนาดมาให้แล้วนั่งตักเพื่อเสริมฐานนั่งให้กับขุนอินเพราะเล็กเกินไป ระยะนั้นบิดาเกือบหมดจะหมดความสามารถ แล้วสงบลงได้โดยไม่ต้องกังวลเพราะเกิดจากความตั้งใจของเด็กขุนอินจนบิดาเชื่อ แต่ทุกครัวเรือนเข้าใจผิดที่นิยมลักษณะจ้ำม่ำ chubby babyของเด็กขุนอินว่าเป็นทารกมีสุขภาพกรรมพันธุ์สืบต่อจากบิดา เป็นจินตนาการของผู้ที่เห็นเด็กขุนอินแล้วคิดไป จากครอบครัวของที่เป็นศิลปินไทยทั้งบ้าน มักจะได้ดังใจต่อการฝึกฝนของขุนอิน มีความหวังสูงเพราะบิดาได้ผ่านชีวิตแบบนี้มาไม่ต่างกันเปรียบเสมือนลูกเสือลูกจะเข้ จากการเอาใจใส่และการตั้งใจของเด็กขุนอินยอมอดอาหารประเภทไขมันสูงเช่นอาหารหมูกะทะ เขาจึงมักต้องการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่อการติดตามเมื่อบิดาออกแสดงตามสถานบันเทิงต่างๆทั้งในประเทศและนอกประเทศ และมีการออกกำลังกายบ้างเช่นการเล่นแบบเด็กกับการดูโทรทัศน์บ้างบางเวลา มากกว่าไปกีฬาไร้ประเภทกับเพื่อนร่วมรุ่น และในขณะที่ขุนอินมีสำนักส่วนตัว รับเด็กมาสอนสืบทอดด้วยการสร้างวัฒนธรรมดนตรีไทยให้กับชนรุ่นหลัง ให้ดำรงคงอยู่ต่อไปเพราะ”ขุนอินเข้า”สู่อาชีพแล้ว

 

 ใช้รูปแบบชีวิตจิตสังคม biopsychosocial คู่มือการค้นพบใหม่ของผู้ดำเนินการและที่สำคัญ เป็นวิธีการส่งเสริมสุขภาพของผู้คน และการกู้สภาพคืน

 

ณัฐนพ มนู อินทาภิรัต

หมายเลขบันทึก: 557550เขียนเมื่อ 28 ธันวาคม 2013 10:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 ธันวาคม 2013 10:23 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

อย่าอยู่ในคลัง ที่ไม่มีเงิน

อย่ามัวหลงเพลิน กับคำมุสา

อย่ามัวนิ่งเฉย ละการเวลา

อย่ากลัวไร้ค่า วาสนาตน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท