มุมมองประเทศไทยในสายตาของศาสตราจารย์ ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์



นิธิ เอียวศรีวงศ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

          เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคมพ.ศ. 2483 ที่กรุงเทพมหานคร ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน ซึ่งเจ้าตัวมักเรียกตัวเองว่าเป็น เจ๊กปนลาว (จ.ป.ล.) (มาจากการที่เป็นคนจีนที่เกิดในเชียงใหม่ ซึ่งเคยเป็นดินแดนของอาณาจักรล้านนาในอดีต ซึ่งมีวัฒนธรรมร่วมกับลาว) จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และสำเร็จการศึกษาสาขาประวัติศาสตร์ ทั้งปริญญาตรี และโท จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาเข้ารับราชการในตำแหน่งอาจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยมิชิแกนสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จในปี พ.ศ. 2519 กลับมารับราชการตามเดิม จนได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์โดยวิธีพิเศษ กล่าวคือ เขาได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ โดยไม่ผ่านการเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และรองศาสตราจารย์ และเข้าโครงการลาเกษียณอายุราชการก่อนกำหนดใน พ.ศ. 2543[1] หลังจากสิ้นภาระการสอนในระบบมหาวิทยาลัยปกติ ปัจจุบัน ยังคงเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการแสดงความคิดสู่สังคมผ่านมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ซึ่งได้บุกเบิกมาก่อนหน้านี้แล้ว และผ่านรูปแบบบทความทางหนังสือพิมพ์ นิตยสารอยู่เป็นประจำ ในการลงประชามติรับร่างธรรมนูญปี พ.ศ. 2550ศ.ดร.นิธิ เป็นผู้หนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว(1)

 

                              

1. สังคมไทยในระยะเปลี่ยนผ่าน

 
2. การเมืองไทยในสายตานิธิ
       2.1 การเมืองไทยในสายตานิธิ 1
 
         2.2  การเมืองไทยในสายตานิธิ 2.
3. ถาม-ตอบ "ปัญหาข้ามศตวรรษ"
4. มรดกสมบูรณาญาสิทธิราช
5. 24  มิถุนายน  2475  ประวีติศาสตร์ที่ถูกลืม
6.  24  มิถุนายน  2475  เปลี่ยนคน หรือ เปลี่ยนระบอบ
7.  เวทีเสวนา "ปรองดองกับความเป็นธรรม?"
8. มุมมองแก้รัฐธรรมนูญ
9. มุมที่สังคมไทยไม่ค่อยมอง
10. การสืบทอดอำนาจของชนชั้นนำ
11. คดีอากง กับมาตรา 112
        11.1 คดีอากง กับมาตรา 112  ตอนที่ 1
        11.2  คดีอากง กับมาตรา 112  ตอนที่  2
12.  1 ศตวรรษปริทัศน์ รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยาม/ไท­ยสมัยใหม่ (พ.ศ.2454-2550)
        12.1  1 ศตวรรษปริทัศน์ รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยาม/ไท­ยสมัยใหม่ (พ.ศ.2454-2550) 1
        12.2  1 ศตวรรษปริทัศน์ รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยาม/ไท­ยสมัยใหม่ (พ.ศ.2454-2550) 2
          12.3  1 ศตวรรษปริทัศน์ รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยาม/ไท­ยสมัยใหม่ (พ.ศ.2454-2550) 3
        12.4  1 ศตวรรษปริทัศน์ รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยาม/ไท­ยสมัยใหม่ (พ.ศ.2454-2550) 4
13.  ประเทศไทยหลังเลือกตั้ง

    13.1 ประเทศไทยหลังเลือกตั้ง 1

          13.2  ประเทศไทยหลังเลือกตั้ง 2

          13.3  ประเทศไทยหลังเลือกตั้ง 3

          13.4  ประเทศไทยหลังเลือกตั้ง 4

          13.5  ประเทศไทยหลังเลือกตั้ง 5

14. ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน
        14.1 ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน 1

        14.2 ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน 2

         14.3 ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน 3

         14.4  ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน 4

         14.5  ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน 5

15.  ม 112 ภาพสะท้อนวิกฤติอัตลักษณ์ 'ความเป็นไทย'

16.  คำชมและคำติ ของ ศาสตราจารย์  ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์  ที่มีต่อนโยบาย
       หลัก ๆของรัฐบาลยิ่งลักษณ์

 
 

 


 



 

 
                              
(1) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B4_%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C
 
 
                                   
หมายเลขบันทึก: 539804เขียนเมื่อ 19 มิถุนายน 2013 11:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 กันยายน 2013 00:01 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีจ้ะท่านอาจารย์ที่เคารพ  หายไปนานมากมายเลยนะจ๊ะ  ฝนตกแล้ว หวังว่าอาจารย์คงมีเวลาเข้ามา

ให้ความรู้ + ข้อคิดดี ๆ แก่ชาวโกทูโนได้บ่อยขึ้นนะจ๊ะ

ชอบมุมมองเรื่องจำนำข้าวของ ศ. นิธิมาก ๆ หวังว่ารัฐบาลคงได้อ่านและมีกำลังใจ อ่านจากมติชนออนไลน์นานมาแล้ว

คุณมะเดื่อคงได้อ่านถ้าเป็นแฟน อ. นิธิจริง

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท