ภูมินาม ภูมินิเวศน์วัฒนธรรม 2 : นุเซะโปล้ อุ้มผาง


4 .มิถุนายน  2556  ไปโรงเรียนที่ชุมชนเรียกตนเองว่าชาวกะเหรี่ยงดอย หรือ ปาเกอะญอ นับถือศาสนา ดั้งเดิม และได้รู้ว่า ชาวกะเหรี่ยงน้ำ ก็คือกะเหรี่ยงโปว์ กลุ่มนี้นับถือศาสนาคริสต์ ตามมาทีหลังแต่เขาก็อยู่ร่วมกันได้อย่างดี หมู่บ้านนี้คือ "นุซาโปล้"

ภูมินามนิเวศน์วัฒนธรรม คำว่า  นุเซะโปล้ " เป็นภาษากะเหรี่ยงโปว์ แปล่ว่า หนองน้ำที่มียอดไม้    นุเซโปล้ อยู่ตำบลแม่จัน  

อำเภอ อุ้มผาง  จังหวัดตาก ทที่หมู่บ้านนี้ปลูกข้าวไว้กินท่ีเหลือก็ขาย พืชเศรษฐกิจคือข้าวโพด


อีกคำห่นึ่งที่ได้พบโดยยังไม่ได้ถาม  คือ   คำว่า 

อุ้มผาง   เป็นภาษากะเหรี่ยงมาจากคำว่า

"อุผะ" แปลว่า กะบอกไม้ไผ่สื่อสาร  เป็นภาษากะเหรี่ยง ชาวกะเหรี่ยงเช่นกัน   เขาบอกว่าคนไทยพูดไม่ได้จึงเพี้ยนมาเป็นอุ้มผาง  

การติดตาม

การติดตามโรงเรียนบ้าน นูเซโป้ ซึ่งมีโรงเรียนสาขา อีก 3 สาขาคือ 

1.โรงเรียนนุโพ มีนักเรียน 130 คน   2.โรงเรียนทิโพจิ มีนักเรียน 5 คน 3.โรงเรียนซอแมะโกล มีนักเรียน 29 คน 

ทางโรงเรียนได้เลือกนำเสนออัตลักษณืคือชุดแต่งกายของสาวพรหมจารีย์คือ ชุดท่ีเเรียกว่า "เชวา"

ผู้อำนววยการชื่ออภิญญา มีครู 22 คน นอกจากนั้นก็มีครรฝูผู้ช่วยและครูอัตราจ้าง

รวมโรงเรียนสาขาแลวมีนักเรียน 4 ห้อง จำนวนนักเรียน ท่ีมีบัตรประชาชนน 280  ไม่มีบัตร 153 คน พักนอน 64 คน 

ปัญหาของท่ีีนี่คือชาวบ้านสื่อสารภาษาไทยไม่ได้


การติดตามการรับรู้ข่าวสาร การทำงานป้องกันมาเลเรียโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

   

โรคมาลาเรียที่ ทางโครงการได้ฝึกอบรมครูู สอนนักเรียนทให้มีความรู้และป้องกันตัวเองได้และสามารถเป็นนกต่สื่อสารไปยังชุมชนอันได้แก่ เพื่อน ๆ ในโรงเรียน พ่อ แม่ และต้องการให้ข้อมูลความรู้เรื่องมาลาเรียกระจายไปยังชุมชน ด้วยหวังผลว่า ชาวบ้านจะป้องกันตนเองได้  ซึี่งมีแนวคำถามหาตัวชี้วัด 5 ประการคือ

1.นักเรียนเคยมาพูดคุยเมาลาเรียและการป้องกันหรือไม่

ผู้ให้สััมภาษณ์ไม่มีลูกอยู่ช้น ป. 5 

-ความรู้แยกไม่ออกระหว่างเกี่ยวกับมาลาเรีย กับไข้เลือดออก คำตอบคทอ ถ้ไม่สบายต้องเจาะลือด นอนกางมุ้ง คว่ำน้ำขัง กะโหลกกะลา


2.โรคมาลาเรียที่นักเรียนมาพูดคุยคุยด้วยมีความแตกต่างจากที่เคยรู้มาก่อน ไหม

-ตอบไม่ได้เพราะมีมีลูกเรียนป. 5

3..รู้วิธีการป้องกันไม่ให้เป็นโรคมาลาเรียก่อนหน้าที่นักเรียนจะมาคุยหรือยัง

-คิดว่ารู้แต่ตอบไม่ถูก

-ภารโรงได้ยิน จากครู จากเด็กแต่ไม่เป็นขั้นตอน ความรู้มาลาเรียนไม่ครบ 

-ได้ยินเพื่อนเล่าวว่าท่ีศูนย์อพยพมีคนเป็นมาลาเรียนุโพเยอะ

-บางคน/หลายคนอ่านจากแผ่นพับ ไปรู้โรงพยาบาล   เรียนเอาเอง คิดเอง

4.โรงเรียนควรสอนวิธีป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรคมาลาเรียกับนักเรียน เพราะ

จะได้มีความรู้ ป้องกันตนเอง และไปบอกชาวบ้าน ชาวบ้านไม่ตระหนักถึงพิษภัยของโลก ตราบใดท่ีีไม่เป็น

5.เรื่องการป้องกันโรคมาลาเรียที่ควรสอนในในโรงเรียน ควรนำมาใช้ในชีวิตจริงได้ เรื่องอะไร

-ถามแล้วได้คำตอบเหมือน ข้อ 4 เพราะตอนนั้นผู้ถามไม่ได้เชื่องโยงกระบวนการสอนมาลาเรียนแบบทักษธชีวิต ให้เข้าใจ

รูปภาพ









ข้อเสนอแนะ
1.คววรติดโปสเตอร์ในหมู่บ้าน เพราะชาววบ้านก็อยากมีความรู้
2.ประกาศเสียงตามสาย คุณครูรับไปปประสานผู้ช่วย

หมายเลขบันทึก: 538697เขียนเมื่อ 9 มิถุนายน 2013 16:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2013 18:08 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท