ใบความรู้ที่ 6 ภาษาไทยมีระดับ


ใบความรู้ที่ ๖

  วิชาภาษาไทย ๑  ท   ชั้น ม.๔  นายสมเกียรติ  คำแหง

ภาษาไทยเป็นภาษามีระดับ

  คนไทยใช้ภาษาในการสื่อสาร  ด้วยยึดถือวัฒนธรรมของสังคม  คำพูดที่สื่อสารคำนึงถึงเพศ วัย ฐานะ การศึกษา จึงใช้คำแตกต่างกัน ตามบทบาท หน้าที่ กาล เทศะ สถานที่

และสถาการณ์จึงแบ่งระดับความแตกต่างได้ดังนี้

ภาษาระดับทางการ

ภาษาระดับไม่เป็นทางการ

ระดับพิธีการ  ระดับกึ่งพิธีการ

ระดับไม่เป็นทางการ

ระดับพิธีการ  ระดับทางการ  ระดับกึ่งทางการ

ระดับไม่เป็นทางการ  ระดับกันเอง

ระดับ

โอกาส สถานการณ์

ผู้ส่งสาร-ผู้รับสาร

การใช้ถ้อยคำ

พิธีการ

-การประชุมรัฐสภา

-การกล่าวอวยพร

-การกล่าวต้อนรับ

-การกล่าวปราศรัย

-การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญา

-การกล่าวสดุดี

-การกล่าวปิดพิธี

-บุคคลสำคัญ มีตำแหน่งสูง

-บุคลในวงการเดียวกัน

-บุคคลกลุ่มใหญ่

ภาษาราชการ กล่าวฝ่ายเดียวไม่มีการโต้ตอบ

ระดับทางการ

-บรรยาย หรืออภิปรายอย่างเป็นทางการในที่ประชุม

-เขียนข้อความอย่างเป็นทางการที่ปรากฏต่อสาธาณชน

-หนังสือราชการหรือวงการธุรกิจ

เพื่อ - บอกหรือรายงานให้ทราบ–ให้ความรู้เพิ่มเติม

-เสนอความคิดเห็น

-ในวงการอาชีพเดียวกัน

-หน้าที่หรือภารกิจในวงการนั้นๆ

-ตรงไปตรงมา

-ประหยัดถ้อยคำ

-ใช้เวลาน้อยที่สุด

ระดับกึ่งทางการ

-ประชุมกลุ่มหรืออภิปรายกลุ่ม

-การบรรยายในชั้นเรียน

-ให้ความรู้ แสดงความคิดเห็น

เชิงวิชาการ การดำเนินชีวิตเรื่องธุรกิจ

-ถาม แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง

-หาทางเลือก ร่ตัดสินใจ

-ไม่มีรูปแบบตายตัว

ระดับ

โอกาส  สถาณการณ์

ผู้ส่งสาร - ผู้รับสาร

การใช้ถ้อยคำ

ระดับไม่เป็นทางการ

-สนทนาโต้ตอบระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ไม่เกิน ๔-๕ คน

-สถานที่และกาละที่ไม่เป็นส่วนตัว

-การเขียนจดหมายระหว่างเพื่อน

-การรายงานข่าว

การเสนอบทความสารคดีในหนังสือพิมพ์

พูดโต้ตอบ

ใช้คำสุภาพ เป็นกันเอง

ระดับกันเอง

-พูดกันในครอบครัว

-เพื่อนสนิท

-อยู่ในสถานที่ส่วนตัว

-บทล้อเลียน

-จดหมายส่วนตัว

-บทสนทนาของตัวแสดงในละะคร เรื่องสั้น นวนิยาย

พูดโต้ตอบ

ใช้คำพูดตามบทบาท

และหน้าที่

ตัวอย่างภาษาระดับพิธีการ

  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ข้าพเจ้ามาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์  ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหิดลอีกวาระหนึ่ง  ขอแสดงความชื่นชมกับผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและความสำเร็จ

  บัณฑิตทุกคน เมื่อสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย ควรมีความพร้อมอยู่พอสมควร ในการที่จะออกไปประกอบกิจการงานในหน้าที่ต่างๆ ตามหลักวิชาการของตน ปัญหามีอยู่ว่าบัณฑิตจะทราบได้อย่างไร ว่าตนเองทำงานได้อย่างมีคุณภาพและได้ผล จึงขอให้ทุกคนทำความเข้าใจเสียแต่ต้นว่า เมื่อใดท่านแน่ใจว่ามีความตั้งใจดี มีหลักวิชาดี มีแผนงานดี มีสติสมบูรณ์มั่นคง มีเหตุผลที่ถูกต้อง และมีความคิดพิจารณาที่ละเอียดรอบคอบพร้อมมูลในตัวแล้ว  เมื่อนั้นท่านสามารถทำงานได้อย่างมีคุณภาพและได้ผล แม้ผลจะยังไม่ปรากฏให้เห็นได้ในทันที แต่ก็เชื่อมั่นได้ว่างานที่ทำจะสำเร็จลุล่วง และได้รับผลอันสมบูรณ์ในภายหน้าอย่างแน่นอน

  ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตใหม่และทุกท่านที่มาประชุมในพิธีนี้  สามารถดำเนินชีวิตและกิจการงานทุกอย่าง ให้บรรลุความสำเร็จ และความเจริญ ทั้งให้มีความสุขความสวัสดีทุกเมื่อตลอดไป

  (พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามราชกุมารี)

ภาษาระดับพิธีการ

ประเภทคำ

ผู้ส่งสาร - ผู้รับสาร

ภาษาระดับกึ่งทางการ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

สรรพนาม

ทุกระดับ

พระเจ้าแผ่นดิน ,ในหลวง

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม

ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ

แทนพระองค์

พระองค์

พระราชทาน

ผู้ทรงคุณวุฒิ

ประกอบกิจการงาน

ในพระปรมาภิไธย

พระราโชวาท

ข้าพเจ้า

ตัวอย่างภาษาระดับกันเอง

  ตายแล้ว/ แค่อธิบายคำว่าจริงก็ปาไปหลายหน้าอยู่นา ภาษาของน้องๆวัยรุ่น มันนวุ่นจริงๆ ส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะ คำคะนอง ลักษณะของวัยรุ่นเป็นวัยคะนอง ช่างคิด ช่างจินตนาการ ต้องฉีกแนว หาความแปลกใหม่ให้ชีวิต นี่คือธรรมชาติของวัยรุ่น ก่อนที่ครูลินลี่จะพานักเรียนของครูไปรู้จักคำคะนองของน้องๆ วัยรุ่นนั้น จะขอเล่าคำถาม มุขที่ประทับใจของลูกศิษย์คนหนึ่งที่ช่างประยุกต์เอาเรื่องที่เราสอนมาทำเป็นมุขตลกได้ คือการสับที่เสียงสระพยัญชนะนั้นเขาเรียกว่า คำผวน มีคำถามมาถามครูลินลี่ว่าข้าวเหนียว ส้มตำ ต้องกินกับอะไรอีกอย่างจึงจะอร่อย  ครูลินลี่ก็ตอบเด็กลูกศิษย์ไปว่า หมูแดดเดียวมั่ง เด็กตอบว่าไม่ใช่ครับครู ตัองกินคับ

  กำซิก

  กำซิกอะไรมันวะ กำผักบุ้งหรือป่าว เอ/ หรือจะเป็นกำถั่วฝักยาว ครูลินลี่นึกในใจ

เด็กลูกศิษย์คนเดิมตอบว่า

  กำซิก แล้วผวนเป็น กิ๊ก-some ซึ่งแปลว่า กิ๊กบ้าง แล้วผวนเป็น ก้างbig ซึงแปลว่า  ก้างใหญ่ ก้างใหญ่ ก็ ไก่ย่าง (อ๋อ ไก่ย่างนี่เอง ปัดโธ)

จากตัวอย่างใหนักเรียนเปลี่ยนเป็นภาษาระดับกึ่งทางการ(คำที่พิมพ์ตัวเข้ม)

คำที่

จากบทสนทนา

ภาษาระดับกึ่งทางการ

ตายแล้ว

ก็ปาไปหลายหน้าอยู่ นา

ภาษาของน้องๆวัยรุ่น มันวุ่นจริงๆ

ต้องฉีกแนว

จะพานักเรียนของครูไปรู้จักกับคำคะนอง

มุขที่ประทับใจ

หมูแดดเดียวมั่ง

ต้องกินคับ

กำซิกอะไรวะ กำผักปุ้งหรือป่าว เอ

  ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละ เทศะ

  ๑.ใช้คำให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล เพื่อน เครือญาติ หรือบุคคลในสังคม

  - เพื่อนชายพูดคุยอยู่ด้วยกันใช้สรรพนามว่า มึง กู เอ็ง ข้า ลื้อ อั้ว

  เมื่อครูเดินผ่านมาต้องเปลี่ยนเป็น.............................................................................

  เมื่อพูดกับพ่อแม่......................................................................................................

  ผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย...................................................................................................

  เมื่อใช้กับบุคคลที่มีฐานะต่างกันเช่นคำว่า ตาย

คำกริยา

ชั้นบุคคล

สวรรคต

พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี พระราชินี

สมเด็จพระปฐมบรมชนก

สมเด็จพระบรมชาชชนก

สมเด็ดพระบรมราชชนนี

สมเด็จพระยุพราช

สมเด็จพระบวรราชเจ้า

กรมพระราชวังบวรฯ

พระราชาทั่วไป

เจ้านายที่ทรงฐานันดรศักดิ์สูงเป็นพิเศษ

เจ้านายตั้งแต่พระองค์เจ้าขึ้นไป

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

สมเด็จพระสังฆราช

หม่อมเจ้า

พระสงฆ์ สามเณร

เจ้าประเทศราช

สมเด็จเจ้าพระยา

เจ้าพระยา

พระยา

บุคคลทั่วไป

สัตว์ใหญ่ อสูร

สัตว์เล็ก

    คำสรรพนามราชาศัพท์

  ตามประเพณีนิยมเราต้องการใช้ภาษาให้เหมาะสม  จึงต้องบัญญัติคำให้เหมาะสมกับบุคคลชั้นต่างๆ

๑.สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูด (บุรุษที่๑)

คำ

ผู้ใช้

ใช้กับ

ข้าพระพุทธเจ้า

บุคคลทั่วไป

พระมหากษัตริย์หรือเจ้านายชั้นสูง

เกล้ากระหม่อม

บุคคลทั่วไปหรือเจ้าานยผู้น้อย

เจ้านายผู้ใหญ่

กระหม่อมฉัน

เจ้านายผู้ใหญ

เจ้านายเสมอกัน

กระหม่อม

เจ้านายเสมอกันหรือผู้ชายหรือบุคคลทั่วไป

เจ้านายเสมอกันหรือต่ำกว่าเจ้านาย

หม่อมฉัน

เจ้านายเสมอกันหรือผู้หญิง

เจ้านายเสมอกันหรือต่ำกว่าเจ้านาย

เกล้ากระผม

เกล้าผม

บุคคลทั่วไป

ข้าราชการผู้ใหญ่หรือพระสงฆ์ที่นับถือ

เกล้ากระผม

บุคคลทั่วไป

ผู้ใหญ่หรือพระสงฆ์นับถือ

ผม

ผู้ใหญ่

ผู้น้อย

บุคคลทั่วไป

ผู้น้อย

ผู้ใหญ่ เป็นการสามัญ

บุคคลทั่วไป

ดิฉัน(ดีฉัน)

ผู้ใหญ่/เจ้านาย

ผู้น้อย (ทั้งฆราวาสและพระสงฆ์)บุคคลทั่วไป

อาตมาภาพ,อาตมา

พระสงฆ์,สามเณร

พระมหากษัตริย์,บุคคลทั่วไป,เจ้านาย

๒.สรรพนามที่ใช้แทนผู้ที่พูดด้วย (บุรุษที่๒)

คำ

ผู้ใช้

ใช้กับ

ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท

เจ้านายหรือบุคคลทั่วไป

พระมหากษัตริย์

ใต้ฝ่าละอองพระบาท

เจ้านายหรือบุคคลทั่วไป

พระราชินี,พระยุพราช

ใต้ฝ่าบาท

เจ้านายหรือบุคคลทั่วไป

เจ้านายชั้นสูง

ฝ่าพระบาท

เจ้านายเสมอกันหรือบุคคลทั่วไป

เจ้านายชั้นรองลงมา

ใต้เท้ากรุณา

บุคคลทั่วไป

เจ้าพระยา,ขุนนางชั้นสูงหรือพระราชาคณะชั้นใหญ่

ใต้เท้ากรุณาเจ้า

บุคคลทั่วไป

สมเด็จเจ้าพระยา

ใต้เท้า

บุคคลทั่วไป

ขุนนางผู้ใหญ่หรือพระภิกษุที่นับถือ

พระคุณเจ้า

บุคคลทั่วไป

พระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์

พระคุณท่าน

บุคคลทั่วไป

พระสงฆ์ทั่วไป

พระเดชพระคุณ

บุคคลทั่วไป

เจ้านายหรือพระสงฆ์ที่นับถือ

สมเด็จพระบรมบพิตร

พระภิกษุสามเณร

พระมหากษัตริย์ในฐานะที่ยกย่อง

พระราชสมภารเจ้า

พระราชสมภาร

พระภิกษูสามเณร

พระมหากษัตริย์

บพิตร

พระภิกษุสามเณร

เจ้านายหรือขุนนางชั้นสูง

เธอ

ผู้ใหญ่หรือบุคคลทั่วไป

ผู้น้อย

ท่าน,คุณ

บุคคลทั่วไป

บุคคลทั่วไป

๓.สรรพนามที่ใช้แทนผู้ที่พูดถึง (บุรุษที่๓)

คำ

แทนบุคคล

พระองค์

พระพุทธเจ้า,เทพผู้เป็นใหญ่

พระ,ธ (ในคำประพันธ์)

พระมหากษัตริย์และเจ้านายชั้นสูง

คำ

แทนบุคคล

ทูลกระหม่อม

เจ้านายชั้นเจ้าฟ้า

ท่าน

เจ้านาย,ขุนนาง,พระสงฆ์,ผู้ที่นับถือผู้เสมอกัน,ผู้ที่ไม่สนิทสนมกัน

เธอ (ใช้หลังคำ เช่น น้องยาเธอ)

พระราชา (ใช้เฉพาะอยู่ท้ายเครือญาติเท่านั้น)

เธอ(ใช้โดๆ)

ผู้ที่ยกย่อง

แก

คนแก่ไม่ใช่ผู้นับถือ

มัน

คนใช้ สัตว์สิ่งของ

 

  ๒.ใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับโอกาส สถานการณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

  “บอกให้รู้” ในสถานการณ์ต่างกัน

สถานการณ์

ถ้อยคำความที่ต้องการบอกให้รู้

พ่อพูดกับลูกชาย

พ่อจะเล่าให้ฟัง

ข้าราชการผู้น้อยกับผู้บังคับบัญชา

พระภิกษุกับชาวบ้าน

ชาวบ้านกับเจ้าอาวาส

นายอำเภอกับชาวบ้าน

นักเลงกับลูกน้อง

  ภาษาไทยยังมีถ้อยคำเฉพาะซึ่งเราต้องนำมาใช้ให้เหมาะสม

คำกล่าว

คำที่ใช้

บุคคล

คำทักทาย

สวัสดีครับ

ทั่วไป

คำขอบใจ

ขอบใจ ขอบใจนะ

ขอบใจมาก

ขอบคุณ

ขอบพระคุณ

เป็นพระเดชพระคุณ

เป็นพระมหากรุณาธิคุณ

…..........................................

...............................................

................................................

...............................................

.................................................

.................................................

คำขอโทษ

ขอโทษ ขอโทษที

ขออภัย

ขอประทานโทษ

ขอประทานอภัย

.................................................

................................................

..................................................

................................................

คำขอร้อง

ช่วยด้วย ช่วนหน่อย ช่วนหน่อยเถอะ

ช่วยหน่อยนะ  ขอช่วยทำให้หน่อย

กรุณาช่วยด้วย 

ขอได้โปรดช่วย

ขอได้โปรดกรุณาช่วย

...............................................

................................................

...............................................

................................................

................................................

คำสั่ง

จง....................ด้วย ขอจง...................

จงอย่า................... โปรด....................

ได้โปรด...............  ห้าม......................

กรุณาอย่า........................................

ขออย่าได้.......................................

กรุณา.................................................

................................................

................................................

................................................

..................................................

.................................................

................................................

คำอวยพร

-ในโอกาส............................................

ขออวยพรให้.......................................

............................................................

-ขออ้าง..............................................

-ขออัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (ที่...เคารพนับถือ บูชามาอำนวยพรแทนเรา)

ข้าพเจ้าขอ...........................................

...........................................................

............................................................

...........................................................

ผู้ใหญ่อวยพรให้ผู้น้อย

ผู้น้อยอวยพรผู้ใหญ่

ขออนุญาต

-ขอพระราชทานพระบรมราชุญาต

-ขอประทานพระอนุญาต

........................................................

.................................................

................................................

บุคคลทั่วไป

การกล่าวเมื่อมอบของ

ขอพระราชทานทูลเกล้าฯถวาย...........

.......................................(ของใหญ่)

ขอพระราชทานน้อมเกล้าฯถวาย........

........................................(ของเล็ก)

-ขอประทานถวาย.............................

-ถวาย.................................................

มอบ ให้

พระราชา

พระราชา

..............................................

..............................................

.............................................

ภาษาไทย ๑  ท ๑๑๐๑  ชั้น ม.๔ ครูสมเกียรติ  คำแหง

  ถ้าผู้พูดไม่อาจช่วยคนอื่นได้ต้องใช้ภาษาที่ผู้รับฟังสบายใจ

ผู้พูด

ผู้รับสาร

ภาษาที่ใช้พูด

หลาน

ลุง

หลานต้องขออภัยและรู้สึกเสียใจที่ไม่อาจรับใช้คุณลุงในเรื่องนี้ได้

ลุง

หลาน

ชาวบ้าน

พระสงฆ์

พระสงฆ์

ชาวบ้าน

ผู้สูงอายุ

ผู้มีอายุน้อยกว่า

ผู้น้อย

ผู้ใหญ่

ครู

นักเรียน

ครูรู้สึกเสียใจที่ไม่อาจช่วยเธอได้

นักเรียน

ครู

เพื่อน

เพื่อน

ไม่ควรพูด ไม่มีเวลา ,ไม่ว่าง,ทำไม่เป็น,ขี้เกียจ,ยุ่ง,มีธุระ

  ๓. การใช้ถ้อนคำควรคำนึงถึงความรู้สึกของผู้ฟัง

คำที่ให้ความรู้สึกในแง่ลบ

คำที่ให้ความรู้สึกที่ดี

แดก ,ตะกละ,ยัด

เจริญอาหาร ทานจุ ทานเก่ง

อ้วน ,ตุ๊ต๊ะ ,หมูตอน,จ้ำม่ำ

สูงเหมือนเปรต

กำพืด โคตรเง้า

คร่ำครึ, ล้าสมัย,โบราณ,ตกขอบ

โง่, ทึบ, หัวทึบ, หัวขี้เลื่อย

เรียกหา

ไม่รู้

ไม่ใช่

มะพร้าว ๒ ลูก

ไข่ ๓ ลูก ,ใบ

ไฟไหม้

เรือบิน

น้ำท่วม

โจรปล้น

เกิดอุบัติเหตุมาโรงเรียนไม่ได้

คำทั่วๆก็ควรใช้ให้สุภาพ

คำทั่วไป

คำสุภาพ

พ่อ  แม่

ผัว  เมีย

ลูกชาย ลูกหญิง

หัว

ตีน

เลือด

ระดู

มีท้อง

กระดูก(คนที่เหลือจากการเผา)

อัฐิ

ขี้เถ้า (กระดูก)

อังคาร

ขี้

เยี่ยว

วัว  ควาย

หมู  หมา

ไฟ

เหล้า

โรงหนัง

ที่อยู่ของพระ

ส้วมพระ

ที่พระนั่ง

พระนอน(นอนพักผ่อน)

ถวายเงินพระ

ของที่ถวาย

ไทยธรรม

อาหาร

จังหัน

ในสถานการณ์ต่อไปนี้ นักเรียนจะใช้คำพูดว่าอย่างไรเพื่อให้ผู้อื่นสบายใจ

“แหม! อ้อยดูเธอซีดเซียว  ฉันทราบข่าวหลายวันแล้วว่าเธอป่วย แต่ไม่มีเวลามาเยี่ยมจริง ๆ

............................................................................

............................................................................

ไปงานศพแม่ของเพื่อน เพื่อนมาต้อนรับเราพูดว่า “ชุดดำชุดนี้สวยจังเลย ใครตัดให้เธอละ คงแพงมากซิ  เออ..แขกมากดีนนะ

............................................................................

............................................................................

............................................................................

“ยศ..หมู่นี้เป็นอะไรไป ทำซึมเหมือนคนใกล้ตาย”

............................................................................

............................................................................

เล่าให้เพื่อนฟัง “เรารู้ว่าพระที่วัดข้างบ้านไม่สบาย  เมื่อวันอาทิตย์ เรากับแม่จึงเอาอาหารไปให้พระทาน  ก่อนกลับบ้านเราเอาข้าวให้หมาวัดกินด้วย

...........................................................................

............................................................................

............................................................................

............................................................................

“แม่เธอ ดูขี้เหร่จัง”

“ตาเราป่วยหนักเราว่าตาต้องตายแน่”

“เธออาการหนักมาก ฉันว่าคงไม่รอด”


หมายเลขบันทึก: 537438เขียนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 19:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 19:04 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท