ใบความรู้ที่ 3 ภาษาไทยมีเสียงพยัญชนะ


๒.๓  เสียงพยัญชนะ

เสียงพยัญชนะ หมายถึง...................................................................................................................

ฐานที่เกิด

ลักษณะการเปล่งเสียง

ระเบิด

นาสิก

ข้างลิ้น

รัว

เสียดแทรก

ครึ่งสระ

ไม่มีลม

มีลม

ริมฝีปาก

ฟัน

ริมฝีปาก

ฟัน

ปุ่มเหงือก

ซ ศ ษ

ลิ้นส่วนหน้า

เพดานแข็ง

ลิ้นส่วนหน้า

เพดานอ่อน

เส้นเสียง

ตำแหน่งของการออกเสียงพยัญชนะ

  เสียงพยัญชนะมีปรากฏ ๒ ตำแหน่ง

๑. ตำแหน่งต้นคำ ทุกเสียงเป็นพยัญชนะต้น

  รูปพยัญชนะต้น

  ๔๔  รูป  ตามเสียง

  ข    ค    ฆ  ง  จ  ฉ  ช  ซ  ฌ

  ฎ  ฏ  ฐ  ฑ  ฒ   ณ  ด  ต  ถ  ท  ธ

  บ  ป  ผ  ฝ  พ  ฟ  ภ  ม  ย  ร  ล

  ศ  ษ  ส  ห  ฬ  อ  ฮ

ปรากฏต้นเสียง ๒๑  เสียง

เสียง (๒๑)

รูปอักษร(๔๔)รูป

ตัวอย่างคำ

๑.๒ เสียงพยัญชนะต้นควบกล้ำ ๒ เสียง

ควบ

ตัวอย่างคำ

กร

กล

กว

คร

คล

คว

ตร

ทร

ปร

ปล

พร

พล

บร

[img src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image003.gif" height="146" width="19">

บล

คำต่างประเทศ

 

ฟร

ฟล

ดร

๒. ตำแหน่งท้ายคำ มี ๘ เสียง

  เรียกว่า พยัญชนะสะกด ตามตำราไทยแต่เดิม คือ แม่ กก กง  เกย  กด  กน  กบ  กม  และ เกอว มี ๓๕  รูป

ที่

เสียงสะกด

จำนวน

รูป 

ตัวอย่างคำ

๑๖

พยัญชนะที่ไม่ใช้เป็นตัวสะกดมี  ๙  ตัว  คือ

ลักษณะที่ควรสังเกตเกี่ยวกับพยัญชนะ

๑. เสียงพยัญชนะบางเสียงเขียนแทนด้วยรูปหลายรูป

  ๑.๑ คำที่มาจากภาษาบาลี-สันสฤต เรานำมาแล้วออกเสียงไม่ตรงกับเสียงที่มีอยู่ในภาษาไทย เราจึงคิดรูปพยัญชนะเพิ่มขึ้น เพื่อเขียนคำที่มาจากภาษาบาลี-สันสฤต แต่ออกเสียงตามเสียงพยัญชนะไทย เราเรียกอักษรเดิม คือ ฆ  ฌ  ญ  ฏ  ฐ  ฑ  ฒ  ณ  ธ  ภ  ศ  ษ  ฬ  และเพิ่ม ฎ แทน ฏ เช่นคำว่า ชฏา ไทยใช้ ชฎา

  คำภาษาบาลี-สันสฤตที่เขียนตามภาษาเดิมแต่ออกเสียงพยัญชนะไทยที่มีอยู่แล้ว

รูปพยัญชนะ

ออกเสียงอย่างไทย

คำ

คำอ่านอย่างไทย

  ค  ฅ

มาฆะ

มัชฌิม

มัด – ชิม

ปัญญา

ชฎา

กุฏี

กุฏิ

เศรษฐี

  ท

มณฑป

มณฑา

บัณฑิต

วุฒิ

สกุณา

อิทธิ

ภาษา

องศา

ฤษี

จุฬา

๑.๒ พยัญชนะไทย มีอักษรคู่ คือ อักษรต่ำ มีเสียงคู่กับ อักษรสูง คือ อักษรต่ำพื้นเสียงสามัญ พอเสียงตรีจะไปตรงกับอักษรสูง(เสียงจัตวา รูปสามัญ)

  คา  ค่า  ขา

  แช  แช่  แฉ

  ที  ที่  ถี

  พี่  _  _  _  ผี

  ฟัน  _  ฟั้น  _  ฝัน

  ซม  _  _  _  สม

  ฮาว  _  _  _  หาว

๒. รูปพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง

  ๒.๑ เป็นตัวการันต์ หรือ มีเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับ

    เช่น........................................................................................

  ๒.๒ ร  ห  ซึ่งนำหน้าพยัญชนะสะกด เช่น

    สามารถ  อ่านว่า...................................................................

    พรหม  อ่านว่า...................................................................

  ๒.๓ พยัญชนะตามหลังตัวสะกดในบางคำ

    พุทธ  อ่านว่า...................................................................

    สุภัทร  อ่านว่า...................................................................

    พักตร  อ่านว่า...................................................................

  ๒.๔ ร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของควบแท้

    จริง  โทรม

  ๒.๕ ห หรือ ย ซึ่งนำอักษรเดี่ยว

    หลาย  อย่า

  ๒.๖ คำบางคำที่มีเสียงพยัญชนะแต่ไม่ปรากฏรูป ได้แก่ คำที่ประสมสระเกิน

  อำ  ไอ  ใอ  เอา

  ดำ  มีเสียง  ดอ  อะ  มอ

  ทำไม  มีเสียง  ................................................................

  ใจ  มีเสียง  ................................................................

  เรา  มีเสียง  ................................................................

  แต่คำที่มีสระเกิน ฤ ฤา จะออกเสียง ร ไม่มีรูป เช่น  ฤกษ์  พฤกษ์  ฤาษี


หมายเลขบันทึก: 537432เขียนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 18:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 18:29 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท