ขุดเหมืองหาแร่เรียนรู้ใน "พจนานุกรมวิสามานยนามไทย"


ขุดเหมืองหาแร่เรียนรู้ใน "พจนานุกรมวิสามานยนามไทย" : วัด วัง ถนน สะพาน ปอม -- กรุงเทพฯ
(ราชบัณฑิตยสถาน,  หน้า ๒๕-๒๖ พิมพครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ -- royin.go.th/พจนานุกรมวิสามานยนามไทย)

For those who love 'folk history' (stories behind weird or wonderful names), the พจนานุกรมวิสามานยนามไทย offers surprisingly rich and interesting veins of insights into Thailand's Past. Even for casual readers (like me) who are merely beach-combers looking a lucky find will this publication a very good read. It is available online at www.royin.go.th>พจนานุกรมวิสามานยนามไทย>...

Below is an example of the gems found: (I wonder if this can be used as 'supplementary reading material for late primary/early secondary Thai studies. It is definitely a source of inspirations for millions other names in historically richer "regional Thailand".

)
   แคราย ชื่อสี่แยกบริเวณสวนปลายถนนงามวงศวาน ตอนบรรจบกับถนนติวานนทในเขตอําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
   สี่แยกแคราย เปนสี่แยกที่เกิดขึ้นเมื่อมีการตัดถนนติวานนทและถนนงามวงศวานประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๐ เศษ การเขียนชื่อบริเวณสี่แยกดังกลาวมีความลักลั่นมากโดยมีการเขียนทั้ง แคลาย และแคราย จนกระทั่งจังหวัดนนทบุรีไดมีหนังสือสอบถาม ราชบัณฑิตยสถานวา เขียนอยางไรจึงจะถูกตอง ในชั้นแรกราชบัณฑิตยสถานไดตอบจังหวัดนนทบุรีไปวาจากการสอบถามผู้ที่มีพื้นเพในบริเวณดังกลาวมานาน ทราบวา บริเวณนั้นมีตนแคมากมีทั้งดอกสีขาวและสีแดงมองไกล ๆ มีลักษณะคลายผาหลากสี จึงเรียกวา แคลาย
   ตอมาราชบัณฑิตยสถานไดรับคํารองเรียนขอใหทบทวนชื่อ สถานที่ดังกลาวจากประชาชนอยู่เสมอ และกรมทางหลวงไดมีหนังสือขอใหราชบัณฑิตยสถานตรวจสอบวา คําใด ถูกตองระหวาง แคลาย กับ แคราย จึงไดมีการตรวจสอบขอมูลและหลักฐานตาง ๆ เชน วัดเสมียนนารี ซึ่ง วิภาวดีรังสิต เดิมชื่อวัดแคราย แตปรากฏวา วัดเสมียนนารี ไมมีความเกี่ยวของกันทางประวัติศาสตรกับบริเวณสี่แยกดังกลาว  เนื่องจากตั้งอยูห่างไกลกัน และไมปรากฏชื่อบริเวณ ดังกลาวในแผนที่ทางประวัติศาสตร หรือแมแตการตรวจสอบจากสารบบที่ดินและระวางแผนที่รุ่นโบราณที่สํานักงานทีดิน จังหวัดนนทบุรีก็ไมพบหลักฐานเช่นกัน อีกทั้งชื่อ แคลาย หรือแคราย ก็มิไดเปนชื่อหมูบ้าน ตําบลหรือเขตการปกครองใด ๆ จึงไมปรากฏชื่อในแผนที่ การเรียกชื่อสี่แยกแคลาย หรือแคราย เพิ่งปรากฏเมื่อมีการตัดถนนงามวงศวานและ
ถนนติวานนทขึ้น แตจากการสอบถามผู้คนที่อยู่อาศัยในบริเวณดังกลาวกอนที่จะมีการตัดถนนติวานนทและถนนงามวงศวานทราบวา บริเวณดังกลาวมีตนแคมากและขึ้นเรียงรายตามขอบถนน ผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นรวมทั้งผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณใกลเคียง จึงมักเรียกบริเวณนี้ว่า แคราย และกลายเสียงเป็น แคลาย บาง ดังนั้น ปายชื่อของทางราชการ และรานคาตาง ๆ ในบริเวณนั้นจึงมีทั้งที่เขียนวา แคราย
และ แคลาย นอกจากนี้ ไมปรากฏวามีต้นไมตระกูลแคชื่อ แคลาย หรือตนแคที่มีดอกลาย ดังนั้น จึงมีหลักฐานจากคําบอกเลาตรงกันประการหนึ่ง คือ บริเวณซึ่งเปนสวนปลายของถนนงามวงศวานตัดกับถนนติวานนทเปนบริเวณที่มีตนแคเรียงราย หลักฐานจากคําบอกเลาดังกลาวจึงมีน้ำหนักที่นาจะวินิจฉัยไดวา ควรเรียกบริเวณดังกลาววา “สี่แยกแคราย”

หมายเลขบันทึก: 536194เขียนเมื่อ 17 พฤษภาคม 2013 06:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 พฤษภาคม 2013 06:07 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

Continuing with digging for knowledge (or "Knowledge Mining" - another step from data mining ;-), I found this gem. Another source of inspiration for modern history students.

นรสิงห, บาน ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปจจุบันเป็นทําเนียบรัฐบาล  (พจนานุกรมวิสามานยนามไทย 140-141)

   บานนรสิงหเปนบานที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชทานแกพลเอก พลเรือเอก เจาพระยารามราฆพ (ม.ล.เฟอ พึ่งบุญ) เจาพระยารามราฆพเปนขุนนางที่ทรงโปรดปรานมากเคยดํารงตําแหนงผูสำเร็จราชการมหาดเล็ก องคมนตรี อุปนายกเสือปา พลเอกแหงกองทัพบก และพลเรือเอกแหงกองทัพเรือ บานนรสิงหมีเนื้อที่ ๒๗ ไร ๓ งาน ๔๔ ตารางวา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล าเจ าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระราชทรัพยมาจัดสรางอาคาร
และสิ่งตาง ๆ ในบริเวณพื้นที่ดังกลาว แตชื่อบานนรสิงห์ ไมปรากฏวาเปนชื่อที่ไดรับพระราชทาน หรือเจาพระยารามราฆพตั้งเอง
   ภายหลังสงครามมหาอาเซียบูรพาใน พ.ศ. ๒๔๘๔ ญี่ปุ่นไดเจรจาขอซื้อหรือขอเชาบานนรสิงหเพื่อเปนสถานทูตญี่ปุ่นประจําประเทศไทย แตในปเดียวกันนั้นเจาพระยารามราฆพไดเสนอขายบานนรสิงหใหแกรัฐบาล เพราะใหญโต เกินฐานะและเสียคาบํารุงรักษาสูง กระทรวงการคลังปฏิเสธ แตจอมพล ป. พิบูลสงครามนายกรัฐมนตรี ใหซื้อบานนรสิงห เป็นสถานที่รับรองแขกเมืองในราคา ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยใชเงินของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยให้รัฐบาลใช เป็น สถานที่รับรองแขกเมืองและเปนที่ตั้งของทําเนียบรัฐบาลตั้งแต พ.ศ. ๒๔๘๔ เปนตนมา ชื่อบานนรสิงห ไดเปลี่ยนเปนทําเนียบสามัคคีชัย ในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี และเปลี่ยนมาเปนทําเนียบรัฐบาล ตอมาใน พ.ศ. ๒๕๐๖ คณะรัฐมนตรีไดมติใหรัฐบาลซื้อบานนรสิงหจากสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยในราคา ๑๗,๗๘๐,๘๐๒.๓๐ บาท บานนรสิงหหรือทําเนียบรัฐบาลมีตึก สําคัญ ๆ เชน ตึกไทยคูฟ้า ตึกนารีสโมสร ตึกแสงอาทิตย ตึกสันติไมตรี

And for those who like digging further, this mine is fun and safe enough to go really deep ;-)

นิมมานรดี, วัด พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยูที่เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร (พจนานุกรมวิสามานยนามไทย 148-149)


   วัดนิมมานรดี เดิมชื่อวัดบางแค สรางในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ประมาณ พ.ศ. ๒๓๕๐ ปรากฏหลักฐานกลาวถึงวัดบางแคในจดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒ จ.ศ. ๑๐๘๓ (พ.ศ. ๒๓๖๔) วาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยโปรดเกลาฯ แตงตั้ง พระคณาจารย์เปนผู้บอกกรรมฐานในกรุงและหัวเมืองซึ่งมีพระอาจารยเกษ วัดบางแค เปนผู้ถวายสมาธิกรรมฐานดวย ตอมาใน พ.ศ. ๒๔๑๕ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยู่หัว พระอธิการแจงยายมาจากวัดระฆังโฆสิตารามมาปกครอง
วัดบางแค โดยมีขุนตาลวโนชากร (นิ่ม) และภรรยาชื่อ “ดี” มาบูรณปฏิสังขรณเสนาสนะตางๆ ภายในวัดทั้งหมด ทางวัดจึงเปลี่ยนชื่อวัดเพื่อเปนเกียรติแกผู้บูรณปฏิสังขรณ จาก วัดบางแคเปน วัดนิมมานรดี โดยใชชื่อ สามีภรรยาขึ้นตนและลงทาย เพื่อ ใหมีความหมายไพเราะและสอดคลองตรงกับชื่อ สวรรคชี้นที่ ๕  อีก ดวย ขุนตาลวโนชากร (นิ่ม) ไดเสนอชื่อ วัดนิมมานรดี และกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานวิสุงคามสีมาซึ่งได้รับพระราชทานครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๒๒ และไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔ ตอมาในพ.ศ. ๒๕๒๗ วัดนิมมานรดีไดขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนาวัดนิมมานรดีเป็นพระอารามหลวง และไดรับพระมหากรุณาธิคุณสถาปนาขึ้น เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘


Some examples of [my further] digs and learning :
กรรมฐาน: [กำมะถาน] น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. (ส.; ป. กมฺมฏฺาน).
วิสุงคามสีมา: [-คามมะ-] น. เขตที่พระราชทานแก่สงฆ์เพื่อใช้เป็นที่สร้างพระอุโบสถ. (uposatha site)
นิมมานรดี: [นิมมานะระดี, นิมมานอระดี] น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี, มีท้าวสุนิมมิตเป็นผู้ครอง, ในบทกลอนใช้ว่า นิมมานรดีต ก็มี เช่น ช่อชั้นนิมมานรดีต. (อิเหนา). (ป.; ส. นิรฺมาณ + รติ).
ปฏิสังขรณ์: ก. ซ่อมแซมทําให้กลับคืนดีเหมือนเดิม (มักใช้เฉพาะวัดวาอาราม) เช่น ปฏิสังขรณ์วัด. (ป.) (restoration)
อาราม ๑: น. วัด; สวนเป็นที่น่ารื่นรมย์. (ป., ส.).
อาราม ๒: น. ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความเพลิดเพลิน.
อาราม ๓: ว. มุ่งหมายอย่างรีบร้อน, พะวงที่จะทําการใด ๆ, ตั้งหน้าตั้งตา, ใช้นําหน้ากริยา เช่น อารามจะไปเลยลืมกระเป๋าสตางค์.
อธิการ: [อะทิกาน] น. เรียกพระที่ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสซึ่งไม่มีสมณศักดิ์อย่างอื่นว่า พระอธิการ, เรียกพระที่ดํารงตําแหน่งพระอุปัชฌาย์หรือเจ้าคณะตําบล ซึ่งไม่มีสมณศักดิ์อย่างอื่นว่า เจ้าอธิการ; ตําแหน่งสูงสุดของผู้บริหารในวิทยาลัย. (ป., ส.).

Now it's your turn. Have a go.

(If you have an Android tablet or Android (smart) phone or a Linux distro on your PC and would like to help me test a Thai-Thai dictionary, send me an email -- privately--.)

พิษณุโลก, บาน ตั้งอยูที่ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
(พจนานุกรมวิสามานยนามไทย หน้า 245)


บ้านพิษณุโลก เดิมชื่อบ้านบรรทมสินธุ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยู่หัวโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชทานพลตรีพระยาอนิรุทธเทวา (ม.ล.ฟึ้น พึ่งบุญ)เริ่มกอสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๕ โดยสถาปนิกชาวอิตาลี มีสถาปัตยกรรมแบบ Italian Barogue สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ เป็นตึกสูง ๓ ชั้น บริเวณหนาบานมีรูปปั้นนารายณบรรทมสินธุ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณที่พระราชทานเป็นเครื่องหมายประจําตระกูลของพระยาอนิรุทธเทวา ประดิษฐานอยูบนแทนศิลาในอางน้ำพุ ตอมาใน พ.ศ. ๒๔๘๕ รัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีไดใหสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยซึ้อไวเปนบานรับรองของรัฐบาล  พลตรี
พระยาอนิรุทธเทวา ไดแบงขายใหครึ่งหนึ่งของพื้นที่และหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดขายสวนที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งให้โรงพยาบาลมิชชั่น สวน บานบรรทมสินธุ์ รัฐบาลไดเปลี่ยนชื่อเป็น บ้านพิษณุโลก ตามชื่อถนนพิษณุโลก ปัจจุบันบานพิษณุโลกใชเป็น บ้านพักของนายกรัฐมนตรี โดยรัฐบาลได้ขอเชาจาก สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท