เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารความเสี่ยง


การบริหารความเสี่ยง

เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ จังหวัดชุมพร โดยสำนักบริหารยุทธศาสตร์ได้เชิญคณะทำงาน PMQA จากหน่วยงานสังกัดส่วนภูมิภาคมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารความเสี่ยง ในระดับโครงการ ณ ห้องประชุมเกาะพิทักษ์ ศาลากลางจังหวัดชุมพร ฐานะผู้มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงระดับโครงการ ปี ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ ได้ร่วมแลกเปลี่ยนและนำเสนอในส่วนของโครงการที่สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพรเป็นเจ้าภาพ  เผื่อจะมีประโยชน์บ้างจึงนำมา share

 

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ :

โครงการที่พิจารณามาดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยง : โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์  งบประมาณ ๗,๘๐๐,๐๐๐ บาท

กำหนดกิจกรรมที่โครงการต้องดำเนินการแล้วนำมาระบุความเสี่ยงตามมิติธรรมาภิบาล ๑๐ องค์ประกอบ ดังนี้

 

 

กิจกรรม

มิติธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้อง

ประสิทธิผล

strategic

ประสิทธิภาพ

operational

ตอบสนอง

strategic

รับผิดชอบ

operational

โปร่งใส

Financial

มีส่วนร่วม

compliance

กระจายอำนาจ compliance

นิติธรรม

compliance

เสมอภาค

compliance

การมุ่งเน้นฉันทามติ

compliance

ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์

ได้ผู้รับจ้างที่ไม่มีศักยภาพตรงตามความต้องการของโครงการ

จัดซื้อจัดจ้างล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด

-

—ไม่มีผู้รับผิดชอบโครงการที่ชัดเจน

—บุคลากรที่รับผิดชอบมีความสามารถไม่เพียงพอ

—ไม่มีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ยื่นซองให้ละเอียดถี่ถ้วน

—มีข้อร้องเรียน

—ไม่มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการประกาศรายชื่อผู้ชนะการประมูล

—ไม่เปิดโอกาสให้ตรวจสอบ

—ไม่มีช่องทางให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาตรวจสอบ

-

ไม่ดำเนินการตามระเบียบพัสดุและพรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐

เลือกปฏิบัติต่อผู้ยื่นซอง

-

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรม

มิติธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้อง

ประสิทธิผล

strategic

ประสิทธิภาพ

operational

ตอบสนอง

strategic

รับผิดชอบ

operational

โปร่งใส

Financial

มีส่วนร่วม

compliance

กระจายอำนาจ compliance

นิติธรรม

compliance

เสมอภาค

compliance

การมุ่งเน้นฉันทามติ

compliance

การทำสัญญาพิจารณาแบบการก่อสร้างโรงงาน

—ทำสัญญาผิดจากแบบที่กำหนดไว้

—สัญญาไม่ครอบคลุมผลผลิตตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

งวดงานงวดเงินที่กำหนดไม่เหมาะสม

-

ไม่มีกระบวนการ/วิธีการในการตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของสัญญาที่ดีพอ

เจตนาทำสัญญาให้เอื้อประโยชน์แก่ผู้รับจ้าง

-

-

—ไม่ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ

—ไม่ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานตรวจสอบภายนอก

 

 

ดำเนินการก่อสร้างโรงงาน

—คุณภาพของผลงานไม่เป็นไปตามสัญญา

—ผลผลิตไม่ตรงตามแบบ

—ดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

—ตรวจรับล่าช้า

การเบิกจ่ายเงินให้ผู้รับเหมาล่าช้า

—ไม่ตรวจรับผลงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการและรายละเอียดในสัญญา

—ไม่การควบคุมงานก่อสร้างในพื้นที่

มีการทุจริตในการตรวจรับ

ไม่มีคณะกรรมการตรวจรับที่มาจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผลผลิตของโครงการ

-

ไม่ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ

-

-

 

 

 

 

 

 

กิจกรรม

มิติธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้อง

ประสิทธิผล

strategic

ประสิทธิภาพ

operational

ตอบสนอง

strategic

รับผิดชอบ

operational

โปร่งใส

Financial

มีส่วนร่วม

compliance

กระจายอำนาจ compliance

นิติธรรม

compliance

เสมอภาค

compliance

การมุ่งเน้นฉันทามติ

compliance

การติดตามควบคุมและรายงานผล

—ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับความคืบหน้าของการดำเนินโครงการที่เพียงพอหรือทันต่อเหตุการณ์

—ไม่มีระบบในการควบคุมและติดตามโครงการอย่างเหมาะสม

—ไม่มีการรายงานความผิดปกติปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการแก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ

—ไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลของผลสำเร็จ/ผลลัพธ์การดำเนินการเพื่อแสดงผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของโครงการได้

ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ

—ไม่มีการติดตามและประเมินความสำเร็จของโครงการหรือมีแต่ไม่เพียงพอ ไม่ทันต่อเหตุการณ์

—ไม่มีการติดตามการดำเนินการในพื้นที่ก่อสร้าง

-

ไม่ช่องทาง/วิธีการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมติดตามตรวจสอบการดำเนินโครงการ

-

-

-

-

 

 

 

 

 

 

การประเมินความเสี่ยงและการกำหนดกลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง

          หลักเกณฑ์การให้คะแนนความรุนแรงของผลกระทบ (X) และโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย (Y)

ประเด็น/องค์ประกอบที่พิจารณา

๑=น้อยมาก

๒=น้อย

๓=ปานกลาง

๔=สูง

๕=สูงมาก

ความรุนแรงของผลกระทบ (X)

มูลค่าความเสียหาย (X1)

< ๑ หมื่นบาท

๑-๕ หมื่นบาท

๕ หมื่น – ๒.๕ แสนบาท

๒.๕-๕ แสนบาท

> ๕ แสนบาท

ความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(X2)

> ๘๐%

๖๐-๘๐ %

๔๐-๖๐ %

๒๐-๔๐%

<๒๐ %

จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับความเสียหาย/จำนวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับผลกระทบ (X3)

กระทบเฉพาะผู้เกี่ยวข้องโดยตรงบางราย

กระทบเฉพาะผู้เกี่ยวข้องโดยตรงเป็นส่วนใหญ่

กระทบเฉพาะผู้เกี่ยวข้องโดยตรงทั้งหมด

กระทบเฉพาะผู้เกี่ยวข้องโดยตรงทั้งหมดและผู้อื่นบางส่วน

กระทบเฉพาะผู้เกี่ยวข้องโดยตรงทั้งหมดและผู้อื่นมาก

จำนวนผู้ร้องเรียน (ต่อระยะเวลาโครงการ) (X4)

น้อยกว่า ๑ ราย

๑-๕ ราย

๖-๑๐ ราย

๑๑-๑๕ ราย

มากกว่า ๑๕ ราย

โอกาสที่จะเกิดความเสียหาย (Y)

ระเบียบและคู่มือปฏิบัติ (Y1)

มีทั้งสองอย่างและมีการปฏิบัติตาม

มีอย่างใดอย่างหนึ่งและปฏิบัติตาม

มีทั้งสองอย่างแต่ปฏิบัติตามอย่างใดอย่างหนึ่งหรือไม่ถือปฏิบัติ

มีอย่างใดอย่างหนึ่งแต่ไม่ถือปฏิบัติ

ไม่มีทั้งสองอย่าง

การควบคุมติดตามและตรวจสอบของผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานอื่นๆ (Y2)

ทุกสัปดาห์

ทุก ๒ สัปดาห์

ทุก ๑ เดือน

ทุก ๓ เดือน

ทุก ๖ เดือน

การอบรม/สอนงาน/ทบทวนการปฏิบัติงาน (Y3)

ทุกเดือน

ทุก ๓ เดือน

ทุก ๖ เดือน

ทุก ๑ ปี

มากกว่า ๑ ปี

ความถี่ในการเกิดความผิดพลาดการปฏิบัติงาน (เฉลี่ย:ปี/ครั้ง) (Y4)

๕ ครั้ง/ปี

๒-๓ ปี/ครั้ง

๑ ปี/ครั้ง

๑-๖ เดือน/ครั้ง

๑ เดือน/ครั้งหรือมากกว่า

โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ (Y5)

๕ ปี/ครั้ง

๔ ปี/ครั้ง

๓ ปี/ครั้ง

๒ ปี/ครั้ง

๑ ปี/ครั้ง(เกิดแน่นอน)

 

 

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านกลยุทธ์

(strategic risk)

ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์

S1 ได้ผู้รับจ้างที่ไม่มีศักยภาพตรงตามความต้องการของโครงการ

Y5

X1

๑๐

ควบคุมความเสี่ยง

-กำหนดคุณสมบัติผู้รับจ้างให้ชัดเจน

-กำกับตรวจสอบคุณสมบัติของผู้รับจ้างให้มีการดำเนินการอย่างจริงจัง

การทำสัญญาพิจารณาแบบการก่อสร้างโรงงาน

S2 ทำสัญญาผิดจากแบบที่กำหนดไว้

Y1

X1

ควบคุมความเสี่ยง

-จัดทำคู่มือการบริหารโครงการ

-แบบแปลนโครงการ

S3  สัญญาไม่ครอบคลุมผลผลิตตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

Y1

X1

ควบคุมความเสี่ยง

-จัดทำคู่มือการบริหารโครงการ

 

ดำเนินการก่อสร้างโรงงาน

S4 คุณภาพของผลงานไม่เป็นไปตามสัญญา

Y2

X3

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติงานตามสัญญา

S5 ผลผลิตไม่ตรงตามแบบ

Y2

X3

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติงานตามสัญญา

S6 การเบิกจ่ายเงินให้ผู้รับเหมาล่าช้า

Y1

X2

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติงานตามระเบียบพัสดุ

 

 

 

 

 

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านกลยุทธ์

(strategic risk)

การติดตามควบคุมและรายงานผล

S7 ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับความคืบหน้าของการดำเนินโครงการที่เพียงพอหรือทันต่อเหตุการณ์

Y3

X3

ควบคุมความเสี่ยง

-แต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผลโครงการ

-มีการรายงานผลโครงการทุกไตรมาส

S8 ไม่มีระบบในการควบคุมและติดตามโครงการอย่างเหมาะสม

Y3

X2

ควบคุมความเสี่ยง

-แต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผลโครงการ

-มีการรายงานผลโครงการทุกไตรมาส

S9 ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ

Y3

X2

ควบคุมความเสี่ยง

-แต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผลโครงการ

-มีการรายงานผลโครงการทุกไตรมาส

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านปฏิบัติการ

(operational risk)

ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์

O1 จัดซื้อจัดจ้างล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด

Y5

X2

๑๖

ควบคุมความเสี่ยง

-จัดทำแผนปฏิบัติงานในการจัดซื้อจัดจ้างให้ชัดเจน

-ประสานสำนักงานจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

O2 ไม่มีผู้รับผิดชอบโครงการที่ชัดเจน

Y5

X1

ควบคุมความเสี่ยง

-แต่งตั้งคณะทำงานโครงการ

-จัดทำแผนปฏิบัติงานในการจัดซื้อจัดจ้างพร้อมระบุชื่อผู้รับผิดชอบ

O3 บุคลากรที่รับผิดชอบมีความสามารถไม่เพียงพอ

Y5

X1

๒๐

ควบคุมความเสี่ยง

-แต่งตั้งคณะทำงานโครงการที่บูรณาการจากหลายหน่วยงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงาน

O4 ไม่มีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ยื่นซองให้ละเอียดถี่ถ้วน

Y4

X4

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุอย่างเคร่งครัด

การทำสัญญาพิจารณาแบบการก่อสร้างโรงงาน

O5 งวดงานงวดเงินที่กำหนดไม่เหมาะสม

Y4

X1

ควบคุมความเสี่ยง

-แต่งตั้งคณะทำงานโครงการที่บูรณาการจากหลายหน่วยงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงาน

O6 ไม่มีกระบวนการ/วิธีการในการตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของสัญญาที่ดีพอ

Y4

X3

ควบคุมความเสี่ยง

แต่งตั้งคณะทำงานโครงการ

-จัดทำแผนปฏิบัติงานในการจัดซื้อจัดจ้างพร้อมระบุชื่อผู้รับผิดชอบ

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านปฏิบัติการ

(operational risk)

ดำเนินการก่อสร้างโรงงาน

O7 ดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

Y3

X3

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามแผน

O8 ตรวจรับล่าช้า

Y1

X2

๑๒

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ

O9 ไม่ตรวจรับผลงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการและรายละเอียดในสัญญา

Y2

X2

๑๒

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ

O10 ไม่การควบคุมงานก่อสร้างในพื้นที่

Y2

X1

ควบคุมความเสี่ยง

อบรมให้ความรู้แก่บุคลากร

การติดตามควบคุมและรายงานผล

O11 ไม่มีการรายงานความผิดปกติปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการแก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ

Y2

X3

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานโครงการ

O12 ไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลของผลสำเร็จ/ผลลัพธ์การดำเนินการเพื่อแสดงผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของโครงการได้

Y2

X3

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานโครงการ

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านปฏิบัติการ

(operational risk)

การติดตามควบคุมและรายงานผล

O13 ไม่มีการติดตามและประเมินความสำเร็จของโครงการหรือมีแต่ไม่เพียงพอ ไม่ทันต่อเหตุการณ์

Y2

X3

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามคู่มือโครงการ

O14 ไม่มีการติดตามการดำเนินการในพื้นที่ก่อสร้าง

Y2

X1

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามคู่มือโครงการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านการเงิน (Financial risk)

ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์

F1 มีข้อร้องเรียน

Y4

X4

๒๕

ควบคุมความเสี่ยง

จัดให้มีการตรวจสอบและควบคุมภายใน

F2 ไม่มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการประกาศรายชื่อผู้ชนะการประมูล

Y5

X4

ควบคุมความเสี่ยง

จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและประกาศรายชื่อผู้ชนะการประมูล

การทำสัญญาพิจารณาแบบการก่อสร้างโรงงาน

F3 เจตนาทำสัญญาให้เอื้อประโยชน์แก่ผู้รับจ้าง

Y1

X1

ควบคุมความเสี่ยง

จัดให้มีการตรวจสอบและควบคุมให้ปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ

ดำเนินการก่อสร้างโรงงาน

F4 มีการทุจริตในการตรวจรับ

Y2

X1

ควบคุมความเสี่ยง

จัดให้มีการตรวจสอบและควบคุมให้ปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (compliance risk)

ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์

C1 ไม่เปิดโอกาสให้ตรวจสอบ

 

Y5

X4

ควบคุมความเสี่ยง

-จัดให้มีการตรวจสอบและควบคุมภายใน

-ให้มีคณะทำงานจากภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

C2 ไม่มีช่องทางให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาตรวจสอบ

Y5

X4

ควบคุมความเสี่ยง

-จัดทำช่องทางการตรวจสอบโครงการ/สื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

C3 ไม่ดำเนินการตามระเบียบพัสดุและพรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐

Y5

X1

ควบคุมความเสี่ยง

-อบรมให้ความรู้แก่บุคลากร

-จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

C4 เลือกปฏิบัติต่อผู้ยื่นซอง

Y5

X4

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุอย่างเคร่งครัด

การทำสัญญาพิจารณาแบบการก่อสร้างโรงงาน

C5 ไม่ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ

 

Y5

X5

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุอย่างเคร่งครัด

C6 ไม่ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานตรวจสอบภายนอก

Y1

X1

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของหน่วยตรวจสอบ

 

 

 

 

ประเภทของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาส

ผลกระทบ

ระดับความเสี่ยง

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับความเสี่ยง

แนวทางการจัดการความเสี่ยง

ด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (compliance risk)

ดำเนินการก่อสร้างโรงงาน

C7 ไม่ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ

Y5

X1

ควบคุมความเสี่ยง

ดูแลให้มีการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุอย่างเคร่งครัด

การติดตามควบคุมและรายงานผล

C8 ไม่ช่องทาง/วิธีการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมติดตามตรวจสอบการดำเนินโครงการ

Y3

X2

ควบคุมความเสี่ยง

จัดทำช่องทางให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมติดตามตรวจสอบการดำเนินงานโครงการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การจัดทำแผนภูมิความเสี่ยง

 

 

 

 

 

 

 

ความรุนแรงของผลกระทบ

 

C5,C7,C3,O2,O12

 

 

S1

 

 

 

F1

 

 

 

 

S7,S8,S9

 

O8,O9

 

O1

 

O3

 

C1,S2,S3,O4,F2

 

 

C4,O10,O13,O14

 

C2,C6,C8,F3,F4

 

 

 

 

O11

 

 

S4

 

S5,O6

 

O7,S6

 

 

 

 

 

 

 

O5

 

 

 

โอกาสจะเกิดความเสียหาย

ระดับความเสี่ยงน้อยมาก           £       ๒

ระดับความเสี่ยงน้อย                         ๓-๔

ระดับความเสี่ยงปานกลาง                    ๕-๙

ระดับความเสี่ยงสูง                            ๑๐-๑๖

ระดับความเสี่ยงสูงมาก                       ๑๗-๒๕

กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง

จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของโครงการ

 

ประเด็นความเสี่ยง

 

กิจกรรมตามแนวทางการจัดการความเสี่ยง

เป้าหมาย/ผลสำเร็จการดำเนินการกิจกรรมตามแนวทางการจัดการความเสี่ยง

 

ปีงบประมาณที่ดำเนินการ

 

ผู้รับผิดชอบ

ตค

พย

ธค

มค

กพ

มีค

เมย

พค

มิย

กค

สค

กย

O1

มีแผนเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณและประสานงานกับสำนักงานจังหวัดอย่างใกล้ชิด

ทำสัญญาจัดจ้างให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป

O3

จัดทำแผนการปฏิบัติงานในการจัดซื้อจัดจ้างพร้อมระบุผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน

มีชื่อผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมที่ชัดเจนโดยผู้รับผิดชอบมีความร

หมายเลขบันทึก: 499801เขียนเมื่อ 23 สิงหาคม 2012 20:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 สิงหาคม 2012 12:15 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท