โครงการเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต


ด้วยวิทยาลัยสงฆ์พะเยา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ได้ตระหนักถึงพันธะกิจของมหาวิทยาลัยในส่วนของการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิตและการบริการวิชาการแก่สังคม และได้ตระหนักถึงหน้าที่ในการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตให้มีคุณภาพที่พึงประสงค์ มีความรู้เกี่ยวกับวิชาการทางการบริหารจัดการ และสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์  สำหรับบรรพชิตและคฤหัสถ์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย   วิทยาเขตพะเยา

ในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๑(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

********************************************************************

. ชื่อลักษณะโครงการ และแผนงาน :

          ๑.๑ ชื่อโครงการ               :   โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์  สำหรับบรรพชิตและคฤหัสถ์

๑.๒ ลักษณะโครงการ         :   เป็นโครงการใหม่บรรจุไว้ในแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑  และอยู่ในแผนปฏิบัติการปี ๒๕๕๕

๑.๓  แผนงาน                  :   จัดการศึกษา

. หน่วยงานที่รับผิดชอบและสถานที่ตั้งโครงการ 

๒.๑  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย   วิทยาเขตพะเยา

๒.๒  สถานที่ตั้ง    : อาคารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

                         วิทยาเขตพะเยา      

                         เลขที่  ๖๙๒  วัดศรีโคมคำ ตำบลเวียง อำเภอเมือง

                         จังหวัดพะเยา โทร. (0๕๔) ๔๘๒๘๗๖,(๐๕๔) ๔๘๔๑๑๔

. หลักการและเหตุผล

                   ด้วยวิทยาลัยสงฆ์พะเยา  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  วิทยาเขตพะเยา ได้ตระหนักถึงพันธะกิจของมหาวิทยาลัยในส่วนของการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิตและการบริการวิชาการแก่สังคม  และได้ตระหนักถึงหน้าที่ในการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตให้มีคุณภาพที่พึงประสงค์ มีความรู้เกี่ยวกับวิชาการทางการบริหารจัดการ และสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                   ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖ วรรค ๒  ความว่า ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทั้งการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ดังนั้นวิทยาเขตพะเยา จึงได้ตระหนักและตอบสนองพระราชบัญญัติดังกล่าว โดยการจัดทำโครงการเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโทสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์สำหรับบรรพชิตและคฤหัสถ์ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนที่ต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาโท เพื่อส่งเสริมให้บรรพชิตและคฤหัสถ์มีความรู้เกี่ยวกับวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้การบริหารงานในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

. วัตถุประสงค์

๔.๑ เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้บริหาร ผู้นำชุมชนและ  มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารจัดการ     การบริหารตามหลักพุทธธรรม และทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่

          ๔.๒ เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีความรู้ในการบริหารองค์กร และการนำหลักการบริหารจัดการไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          ๔.๓ เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นบุคคลที่สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้  ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาองค์กรสืบต่อไป

๕. ลักษณะกิจกรรม

                   ๕.๑ การบริหารหลักสูตร

                   ๕.๒ การบริหารงานด้านวิชาการ

                   ๕.๓ การบริหารงานทั่วไป

. ระยะเวลาดำเนินการ

                     จะเปิดดำเนินการตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ภาคการศึกษาที่ ๑   เป็นต้นไป

. เป้าหมายของโครงการ :

               ๗.๑ เปิดดำเนินการศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สำหรับบรรพชิตและคฤหัสถ์

             .๒ รับบรรพชิต และคฤหัสถ์ ชาย – หญิง ที่มีคุณสมบัติครบตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕เป็นต้นไป จำนวนปีการศึกษาละ  ๒๐ รูป / คน มีดังต่อไปนี้

          ๗.๓ สำหรับบรรพชิต

ปีการศึกษา / ชั้นปี

ชั้นปีที่ ๑

ชั้นปีที่ ๒

รวม

๒๕๕๕

๒๐

-

-

๒๕๕๖

๒๐

๒๐

๔๐

รวม

๔๐

๒๐

๔๐

        

 

 

๗.๔ สำหรับคฤหัสถ์

ปีการศึกษา / ชั้นปี

ชั้นปีที่ ๑

ชั้นปีที่ ๒

รวม

๒๕๕๕

๒๐

-

-

๒๕๕๖

๒๐

๒๐

๔๐

รวม

๔๐

๒๐

๔๐

. สภาพปัจจุบัน

           วิทยาเขตพะเยาได้เปิดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต  ๕  สาขาวิชา ๖ วิชาเอก ดังนี้

                    ๘.๑ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา  วิชาเอกพระพุทธศาสนา

                   ๘.๒ สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา วิชาเอกปรัชญา

                   ๘.๓ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง

                   ๘.๔ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ  วิชาเอกการจัดการเชิงพุทธ

                   ๘.๕ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

                             ก. วิชาเอกการสอนภาษาไทย

                             ข. วิชาเอกสังคมศึกษา 

. คุณสมบัติของผู้สมัคร

                   ผู้สมัครเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต   สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์   จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

                   ๑.เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และ

                   ๒.เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรงและไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา

 

๑๐. ระบบการศึกษา

                   ระบบการศึกษา เป็นแบบระบบทวิภาค โดยนิสิตต้องศึกษาตามโครงการสร้างหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์พะเยามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นเวลา ๒ ปี จำนวน ๓๘ หน่วยกิต ตลอดหลักสูตร

 

๑๑. ระยะเวลาการศึกษา

                   ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ๒ ปี หรือต้องไม่ต่ำกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ แต่อย่างมากไม่เกิน ๕  ปี ของระยะเวลาการศึกษาปกติของหลักสูตร

๑๒. การวัดผลประเมินผล

                 ๑๒.๑ ให้มีการวัดผลทุกรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษาโดยวิธีการทดสอบ การเขียนรายงาน การมอบหมายงานให้ทำ หรือวิธีอื่นใดที่เหมาะสมกับรายวิชา

            ๑๒.๒ นิสิตจะมีสิทธิ์เข้าสอบไล่ หรือได้รับการวัดผลในรายวิชาใดก็ต่อเมื่อมีเวลาศึกษาในรายวิชานั้นมาแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น

            ๑๒.๓ การประเมินผลการศึกษารายวิชา แบ่งเป็น ๗ ระดับ คือ A, A-, B+, B, C+, C และ F มีผลการศึกษา ระดับ ค่าระดับ และเกณฑ์คะแนน แต่ละระดับ ดังนี้

ผลการศึกษา

ระดับ

ค่าระดับ

เกณฑ์คะแนน

เกณฑ์

วิชาเลือก

วิชาบังคับ

 

เยี่ยม (Excellent)

 

ดีมาก (Very Good)

ดี (Good)

ค่อนข้างดี (Quite Good)

ปานกลาง (Moderate)

ผ่าน (Pass)

ตก (Failed)

 

 A

 

 A-

  B+

B

  C+

C

F

 

๔.๐๐

 

๓.๖๗

๓.๓๓

๓.๐๐

๒.๕๐

๒.๐๐

 

๙๕ - ๑๐๐

 

๙๐ - ๙๔

๘๕ - ๘๙

๘๐ - ๘๔

๗๕ - ๗๙

๗๐ - ๗๔

ต่ำกว่า ๗๐

และวิชาเอก

๙๕ - ๑๐๐

 

๙๐ - ๙๔

๘๕ - ๘๙

๘๐ - ๘๔

ต่ำกว่า ๘๐

 

เกณฑ์ผ่านวิชาบังคับ

และวิชาเอก

เกณฑ์ผ่านวิชาเลือก

๑๓.ข้อกำหนดเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์

                  ๑๓.๑นิสิตมีสิทธิเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์เพื่อขออนุมัติลงทะเบียนทำวิทยานิพนธ์เมื่อศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติและมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต

                  ๑๓.๒นิสิตสามารถลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้ หลังจากได้รับอนุมัติหัวข้อ และโครงร่างวิทยานิพนธ์แล้ว

                  ๑๓.๓นิสิตมีสิทธิ์ข้อสอบวิทยานิพนธ์ได้เมื่อ (๑) ใช้เวลาทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓ เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์และลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ (๒) สอบผ่านรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหลักสูตร รวมทั้งเงื่อนไขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด (๓) เขียนวิทยานิพนธ์เสร็จสมบูรณ์ตามคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดังกล่าวให้ทำการข้อสอบได้

                  ๑๓.๔ การเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ การสอบวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัยว่าด้วย วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์มาใช้โดยอนุโลม

  ๑๔. การสำเร็จการศึกษา

          คุณสมบัติผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร มีดังต่อไปนี้

                  ๑๔.๑ ใช้เวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ แต่ไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติในระบบทวิภาค

                  ๑๔.๒ ศึกษาและสอบผ่านรายวิชาครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และได้ค่าเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม โดยไม่ติดค้างค่าธรรมเนียมใด ๆ

                 ๑๔.๓ ผ่านการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด

                 ๑๔.๔ คุณสมบัติอื่น ๆ ให้นำข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มาใช้โดยอนุโลม

๑๕.  เป้าหมายโครงการ

๑๕.๑ เป้าหมายเชิงคุณภาพ  :  ผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์       (สำหรับบรรพชิตและคฤหัสถ์)

๑๕.๒ เป้าหมายเชิงปริมาณ :  ผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์     ปีละไม่น้อยกว่า  ๔๐ รูป/คน

๑๖.  คณะกรรมการบริหารโครงการ

             ๖๑.๑ คณะกรรมการที่ปรึกษา (ส่วนกลาง)

๑. อธิการบดี                                           ประธานที่ปรึกษา

๒.รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร                                   รองประธานที่ปรึกษา

๓. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ                       รองประธานที่ปรึกษา

๔. รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา รองประธานที่ปรึกษา

๕.รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป                    รองประธานที่ปรึกษา

๖. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย                           รองประธานที่ปรึกษา

           ๑๖.๒ คณะกรรมการดำเนินการ (ส่วนวิทยาเขตพะเยา)

๑. รองอธิการบดีวิทยาเขตพะเยา                   ประธานที่ปรึกษา

๒. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร                      รองประธานที่ปรึกษา

๓. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป               รองประธานที่ปรึกษา

๔. ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์พะเยา                ประธานกรรมการ

๕. ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต                 รองประธาน

๖. ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ                                รองประธาน

๗. รองผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์พะเยา                      กรรมการ

๘. รองผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต                      กรรมการ

๙.  รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการ                            กรรมการ

๑๐. หัวหน้าสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน                  กรรมการ

๑๑. หัวหน้าสาขาวิชาพระพุทธศาสนา                        กรรมการ

๑๒. หัวหน้าสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา                    กรรมการ

๑๓. ผศ.(พิเศษ)พูล   พัฒใหม่                                 กรรมการ

๑๔. ดร.ชัยณรงค์   ศรีมันตะ                                   กรรมการ

๑๕. พระครูพิศาลสรกิจ,ดร.                                    กรรมการ
          ๑๖. พระครูศรีรัตนากร,ดร.                                      กรรมการ

๑๗. พระอธิการกันทวี ฐานุตฺตโร,ดร.                          กรรมการ      

๑๘. ดร.ใจ  บุญชัยมิ่ง                                            กรรมการ

๑๙. ผศ.คนอง  วังฝายแก้ว                          กรรมการและเลขานุการ

๒๐. พระวชิรวิชญ์ ปญฺญาวชิโร                     กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๒๑. พระครูธรรมธรบุญเที่ยง พุทฺธสาวโก         กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

          ๑๗. คณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย

๑.  พระสุธีธรรมานุวัตร,ผศ. ดร.                     ประธานกรรมการ

                   ๒.  พระมหาสมบูรณ์  วุฑฺฒิกโร ,ดร.               รองประธาน

                   ๓.  พระวิสุทธิภัทรธาดา ,ดร.                        กรรมการ

                   ๔.  พระศรีคัมภีรญาณ ,รศ.,ดร.                     กรรมการ

                   ๕.  พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ์                      กรรมการ

                   ๖.  พระครูสุวิธานพัฒนบัณฑิต                      กรรมการ

                   ๗.  ศ.(พิเศษ) จำนงค์  ทองประเสริฐ               กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

                   ๘.  รศ.ดร.วัชระ          งามจิตรเจริญ                       กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

                   ๙.  รศ.บำรุง  สุขพรรณ์                              กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

                   ๑๐. นายสนิท  ไชยวงศ์คต                          กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

                   ๑๑. ดร.วีรชาติ นิ่มอนงค์                             กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

                    ๑๒. พระมหาสมเกียรติ กิตฺติญาโณ                กรรมการและเลขานุการ

            ๑๘.  คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา (วิทยาเขตพะเยา)

๑.      รองอธิการบดีวิทยาเขตพะเยา                  ประธานกรรมการ

๒.     ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร                     รองประธาน

๓.     ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป              กรรมการ

๔.     ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์พะเยา               กรรมการ

 

๕. ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต                 กรรมการ

๖. รองผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต            กรรมการ

๗. รองผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์พะเยา            กรรมการ

๘. หัวหน้าสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา            กรรมการ

๙. หัวหน้าสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน          กรรมการ

๑๐.หัวหน้าสาขาวิชาพระพุทธศาสนา               กรรมการ

๑๑.หัวหน้าฝ่ายกิจการนิสิต                          กรรมการ

๑๒.หัวหน้าฝ่ายคลังและพัสดุ                        กรรมการ

๑๓.หัวหน้าฝ่ายทะเบียนและวัดผล                  กรรมการ

๑๔.ดร.ใจ   บุญชัยมิ่ง                                กรรมการ       

๑๕.ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ                    กรรมการและเลขานุการ

๑๖.รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการ               กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๑๙. อาจารย์ผู้สอน

          ๑๙.๑ อาจารย์ประจำหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า ๕ รูป/คน

ที่

ชื่อ – ฉายา – นามสกุล

วุฒิการศึกษา

ตำแหน่งปัจจุบัน

สถาบัน

พระครูศรีวรพินิจ

- ป.ธ.๖

- พธ.บ,(บริหารรัฐกิจ)

- M.A.( Philosophy)

ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์

MadrasIndia

กำลังศึกษาปริญญาเอก

พระวชิรวิชญ์ ปญฺญาวชิโร

- พธ.บ. (รัฐศาสตร์)

- M.A.(Politics Science)

อาจารย์ประจำ

ม.เดลลี อินเดีย

พระครูธรรมธรบุญเที่ยง

 

- พธ.บ. (รัฐศาสตร์)

- ร.ม.  (รัฐศาสตร์)

อาจารย์ประจำ

ม.รามคำแหงศูนย์ฯ เชียงราย

พระอธิการกันทวี ฐานุตฺตโร,ดร.

- พธ.บ. (รัฐศาสตร์)

- กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)

- Ph.D. (Education. Adm.)

อาจารย์ประจำ

KurukshetraUniversity

พระครูสุวรรณธรรมนิวิฐ

- พธ.บ. (รัฐศาสตร์)

- กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)

อาจารย์ประจำ

ม.นเรศวร พะเยา

ผศ.คนอง  วังฝายแก้ว

- ป.ธ. ๔

- พธ.บ. (สังคมวิทยา)

- กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)

อาจารย์ประจำ/หัวหน้าสาขา

ม.นเรศวร พะเยา

นางพิสมัย วงศ์จำปา

 

- ศศ.บ. (รัฐศาสตร์)

- ร.ม.  (การปกครอง)

อาจารย์ประจำ

ม.ธรรมศาสตร์

ศูนย์ฯ ลำปาง

           

 

 

 

      

 

          ๑๙.๒  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า ๓ รูป/คน)

ที่

ชื่อ – ฉายา – นามสกุล

วุฒิการศึกษา

ตำแหน่งปัจจุบัน

สถาบัน

 ๑

พระครูโสภณปริยัติสุธี,ผศ.ดร.

- ป.ธ. ๖ ร.บ. (รัฐศาสตร์)

- M.A. (รัฐประศาสนศาสตร์)

- ร.ม.  (รัฐศาสตร์)

- ปร.ด.(ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค)

ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต

ม.ราชภัฎเชียงราย

 ๒

พระมหาโยธิน ฐานิสฺสโร,ดร.

- ป.ธ. ๕

- ศศ.ม. (พัฒนาสังคม)

- ปร.ด. (ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค)

อาจารย์ประจำ

ม.ราชภัฎเชียงราย

ดร.ฤทธิชัย แกมนาค

- ศศ.บ.(รัฐศาสตร์)

- M.A. (Political Science )

- Ph.D. (Sociology)

อาจารย์ประจำ/หัวหน้าสาขา

Magadh India

 ๔

รศ.ดร.สุวิทย์  รุ่งวิสัย

- น.บ. (นิติศาสตร์)

- Cert. In public Law

- M.A. (Political Science)

- Ph.D. (Sociology)

ผู้ทรงคุณวุฒิ

จุฬาลงกรณ์ฯ

Harard

Brown

Kuliman   India

 ๕

ดร. ทรงฤทธิ์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต

- น.บ. (นิติศาสตร์)

- ร.บ. (รัฐศาสตร์)

- M.A. (Political Science)

- Ph.D. (Political Science)

ผู้ทรงคุณวุฒิ

ม.ธรรมศาสตร์

ม.ธรรมศาสตร์

TheUniversityofTexas,U.S.A.

 ๖

ดร.หรรษารมย์  โกมุทผล

- กศบ. (การศึกษา)

- พบม. (รัฐประศาสนศาสตร์)

- Ph.D. (Philosophy)

 

ผู้ทรงคุณวุฒิ

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ

นิด้า (nida)

Saydar Patel  UniversityIndia

 

            ๑๙.๓ อาจารย์ผู้สอน (ประจำวิทยาลัยสงฆ์พะเยา) จำนวน ๑๙ รูป/คน   

ที่

ชื่อ – ฉายา/นามสกุล

ป.ธ.

สามัญ

ตำแหน่ง

พระราชวิริยาภรณ์

M.A

รองอธิการบดี

พระสุนทรกิตติคุณ

-

M.A.

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร

พระศรีสุทธิเวที

กศ.ม.

ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ

พระครูศรีวรพินิจ

M.A.

ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์

พระครูโสภณปริยัติสุธี,ผศ.ดร.

ปร.ด.

ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขต

พระครูสุวรรณธรรมนิวิฐ

-

กศ.ม.

อาจารย์ประจำ

พระครูศรีรัตนากร,ดร.

Ph.D.

อาจารย์ประจำ

พระครูพิศาลสรกิจ,ดร.

-

Ph.D.

อาจารย์ประจำ

พระมหาโยธิน  ฐานิสฺสโร,ดร.

ปร.ด.

อาจารย์ประจำ

๑๐

พระอธิการกันทวี ฐานุตฺตโร,ดร.

-

Ph.D.

อาจารย์ประจำ

๑๑

พระวชิรวิชญ์     ปญฺญาวชิโร

-

M.A.

อาจารย์ประจำ

๑๒

ผศ.ณรงค์  โวหารเสาวภาคย์

กศ.ม.

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป

๑๓

ผศ.ดร.วันชัย  พลเมืองดี

-

Ph.D.

หัวหน้าสาขาวิชาพระพุทธศาสนา

๑๔

ผศ.จักรแก้ว     นามเมือง

-

กศ.ม.

หัวหน้าสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

๑๕

ผศ.คนอง       วังฝายแก้ว

กศ.ม.

หัวหน้าสาขาวิชารัฐศาสตร์

๑๖

นาย สุเทพ      สารบรรณ

-

กศ.ม.

หัวหน้าสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา

๑๗

นางพิสมัย   วงศ์จำปา

-

ร.ม.

รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการ/อาจารย์

๑๘

นายชูชาติ    สุทธะ

M.A.

รองผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์/อาจารย์

๑๙

นางสาวเสาวนีย์  ไชยกุล

-

กศ.ม.

อาจารย์ประจำ

               

 

๑๙.๔ อาจารย์ประจำส่วนกลาง / อาจารย์พิเศษ จำนวน ๑๓ รูป/คน  

<

ที่

ตำแหน่งทางวิชาการ /ตำแหน่งทางบริหาร

ชื่อ-สกุล

คุณวุฒิ

สังกัด

- ศาสตราจารย์

- อธิการบดี

 

พระธรรมโกศาจารย์

- ป.ธ. ๙  - พธ.บ.(ปรัชญา)

- M.A. (Philosophy)

- M.Phil. (Linguistics)

- Ph.D. (Philosophy)

ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

- รองศาสตราจารย์

- รองอธิการบดีฝ่าย วิชาการ

 

พระศรีคัมภีรญาณ

- ป.ธ.๙

- ศษ.บ.(มัธยมศึกษาภาษาไทย)

- พธ.ม. (พระพุทธศาสนา)

- Ph.D.(Pali&Buddhist  Studies)

ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

- คณบดีบัณฑิต

  วิทยาลัย

- อาจารย์ประจำ  

  บัณฑิตวิทยาลัย

พระราชวรมุนี

- ป.ธ. ๙

- ศษ.บ. (การสอนภาษาไทยมัธยม) 

- M.A.(Linguistics) - M.Phil. (Linguistics)

- Ph.D. (Linguistics)

หมายเลขบันทึก: 494573เขียนเมื่อ 12 กรกฎาคม 2012 14:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กรกฎาคม 2012 14:18 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท