โพธิปักขิยธรรม


ศึกษาแนวความคิด

      วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาแนวความคิด ทางการเมืองและการปกครองที่ปรากฎตามหลักธรรมในพระไตรปิฎก เอกสารที่กล่าวตีความในพระไตรปิฎกและความคิดนักวิชาการในเรื่อง การปกครองที่ดี คุณสมบัติของผู้ปกครองที่ดีและวิธีการที่จะทำให้บ้านเมือง มีความสุขความเจริญด้านตามหลักพุทธศาสนารวมทั้งหวังว่าการศึกษานี้ จะช่วยเผยแพร่หลักธรรมในพระพุทธศาสนาที่จะนำมาใช้ในทางการเมือง การปกครอง เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาระบบการเมือง การปกครองที่ดี การสรรหาผู้ปกครองที่ดีและวิธีการปกครองที่ดีตาม หลักพุทธศาสนา ผลจากการศึกษา ปรากฎว่าระบอบการเมืองการปกครองที่ดีนั้น ในพระไตรปิฎกได้กำหนดว่าจะต้องมีรูปแบบประการใด หากแต่ให้นำ หลักธรรมาธิปไตย หรือการใช้หลักธรรมเป็นแม่บท เช่นเดียวกับ รัฐธรรมนูญนั่นเอง ซึ่งหลักธรรมาธิปไตยมีพื้นฐานจาก "โพธิปักขิยธรรม" โดยในพุทธกาลก็นำหลักธรรมดังกล่าวมาใช้กับรูปแบบการปกครองที่มีอยู่ ในขณะนั้นทั้งสองรูปแบบ คือการปกครองแบบสาธารณรัฐ

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 4799เขียนเมื่อ 1 ตุลาคม 2005 11:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:11 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท